วันจันทร์ที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2552

การต่อสวิตช์ 2 ทาง

การต่อวงจรสวิตซ์ 2 ทาง
ขั้นตอนการต่อวงจร 1. นำสายไฟต่อจากขั้วที่ 1 ของสวิตซ์ตัวที่ 1 ไปต่อขั้วที่ 1 ของสวิซ์ตัวที่ 2 2. นำสายไฟต่อจากขั้วที่ 3 ของสวิตซ์ตัวที่ 1 ไปต่อขั้วที่ 3 ของสวิตซ์ตัวที่ 2 3. นำสายไฟต่อจากขั้วที่ 2 ของหลอดไฟไปต่อขั้วที่ 2 ของสวิตซ์ตัวที่ 2 4. นำสายไฟต่อจากขั้วที่ 1 ของหลอดไฟและนำสายไฟต่อจากขั้ว 2 ของสวิตซ์ตัวที่ 1 ไปต่อกับแหล่งจ่ายไฟฟ้า 220 V

ความต้านทานไฟฟ้า ตัวนำไฟฟ้า และฉนวนไฟฟ้า

ความต้านทานไฟฟ้า ตัวนำไฟฟ้า และฉนวนไฟฟ้า
2.1 ความต้านทานไฟฟ้า (Resistance)
ความต้านทานไฟฟ้า คือคุณสมบัติของวัตถุ ที่ต้านทานการไหลของกระแสไฟฟ้า วัตถุทุกชนิดจะต้านทานการไหลของกระแสไฟฟ้า วัตถุบางชนิดต้านได้มาก บางชนิดต้านได้น้อย ดังนั้น คุณสมบัติความต้านทานไฟฟ้า คือทำให้กระแสไฟฟ้าเปลี่ยนแปลง ถ้าในวงจรไฟฟ้า ค่าความต้านทานมีมากกระแสไฟฟ้าไหลได้น้อย แต่ถ้าในวงจรไฟฟ้า ค่าความต้านทานน้อย กระแสไฟฟ้าไหลได้มาก
ตัวต้านทานไฟฟ้า เป็นสิ่งที่นักวิทยาศาสตร์ประดิษฐ์ขึ้นมา เพื่อใช้ต่อร่วมกับวงจรไฟฟ้า เพื่อบังคับให้กระแสไฟฟ้าในวงจรเปลี่ยนแปลงไปตามต้องการ ทำจากวัตถุที่ปล่อยอิเล็กตรอนหลุดออกจากวงโคจรได้น้อย
ตัวต้านทานไฟฟ้า บางชนิดทำจากอโลหะ เช่น ตัวต้านทานไฟฟ้าที่ชื่อว่า คาร์บอนรีซีสเตอร์ (Carbon Resistor) ที่ใช้ประกอบในวงจรอิเล็กทรอนิกส์ต่างๆ โดยมีลักษณะทรงกระบอกตัน มีหางทั้งสองข้าง ค่าความต้านทานมีแถบสีแสดง
ตัวต้านทานไฟฟ้าอีกชนิดหนึ่งทำจากโลหะ เช่น ตัวต้านทานที่เรียกว่า ไวร์วาล์วรีซีสเตอร์ มีลักษณะเป็นเส้นลวด ( ลวดนิโครม หรือ ลวดแมงกานีส ) พันรอบแท่งกระเบื่องหรือพอซเลน และมีขั้วสำหรับต่อสายไฟ ตัวต้านทานชนิดนี้โตกว่าชนิดคาร์บอน
2.2 ตัวนำไฟฟ้า (Conductor)
ตัวนำไฟฟ้า คือวัตถุที่มีความต้านทานการไหลของกระแสไฟฟ้าน้อยมาก คุณสมบัติของวัตถุชนิดนี้จะนำกระแสไฟฟ้าได้ดี สารที่เป็นโลหะจะนำไฟฟ้าได้ดี เช่น เงิน ทองแดง อะลูมิเนียม ฯลฯ
2.3 ฉนวนไฟฟ้า (Insulator)
ฉนวนไฟฟ้า คือวัตถุที่มีความต้านทานต่อการไหลของกระแสไฟฟ้าสูงมากหลายเมก-โอห์ม กันไม่ให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านตัวนำได้ วัตถุชนิดที่จะเป็นฉนวนไฟฟ้าได้ดี เช่น แก้ว ไม้ กระดาษ พลาสติก ฯลฯ
2.4 หน่วยของความต้านทาน
ความต้านทานมีหน่วยเป็นโอห์ม (Ohm) ใช้สัญลักษณ์ของหน่วย โอห์ม เขียนเป็น
1 กิโล-โอห์ม (kilo-ohm), k = 1,000 โอห์ม ( )
1 เมกะ-โอห์ม (Mega-ohm), M = 1,000 กิโล-โอห์ม (k )
= 1,000,000 โอห์ม( )



สัญลักษณ์ของความต้านทาน
2.5 ความต้านทานของสารตัวนำ
ขนาดและชนิดของสสารที่นำมาใช้ทำเป็นสายไฟในวงจรนั้น จะต้องทำให้มีความต้านทานต่อกระแสไฟฟ้าต่ำที่สุดเท่าที่จะทำได้เพื่อต้องการให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ง่ายๆ ในวงจรไฟฟ้านั้นความต้านทานของสายไฟฟ้าที่ใช้เป็นตัวนำนั้น จะมีค่าเปลี่ยนแปลงไปตามกฎของความต้านทาน (Law of Resistance) ซึ่งกล่าวไว้ดังนี้
1) ความต้านทานของตัวนำจะเปลี่ยนแปลงไปตามความยาวของตัวนำโดยตรง เช่น ถ้าสายตัวนำทองแดงยาว 1 เมตร มีความต้านทาน 0.004 โอห์ม ถ้าสายยาวเพิ่มขึ้น 2 เมตร ความต้านทานก็จะเพิ่มขึ้นอีกเป็น 0.08 โอห์ม
2) ค่าความต้านทานจะเปลี่ยนค่าเป็นสัดส่วนกับพื้นที่หน้าตัดของตัวนำ หมายความว่า ถ้าพื้นที่หน้าตัดมีมากขึ้น ความต้านทานก็จะมีค่าลดลง และถ้าพื้นที่หน้าตัดมีน้อยลง ความต้านทานก็จะมีมากขึ้น
3) ความต้านทานของตัวนำต่างๆ จะขึ้นอยู่กับคุณสมบัติเฉพาะตัวของมันตามธรรมชาติ
4) อุณหภูมิทำให้ความต้านทานเปลี่ยนแปลงตามความสัมพันธ์

= ความต้านทานเมื่ออุณหภูมิเป็น t องศา
= ความต้านทานของตัวนำเมื่ออุณหภูมิเป็น 0 C
t = อุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม
= (Alpha) สัมประสิทธิ์ – ความต้านทาน
โลหะ อุณหภูมิสูง จะมีความต้านทานเพิ่มขึ้น
อโลหะ อุณหภูมิสูง จะมีความต้านทานลดลง
2.6 ความต้านทานจำเพราะ (Specific Resistance or Resistivity)
ความต้านทานจำเพาะของลวดตัวนำใดๆ หมายถึง ความต้านทานจำเพาะของวัสดุตัวนำและลวดตัวนำชนิดนั้นที่จะบอกความต้านทานของสายที่มีขนาดตามกำหนด
ในระบบอังกฤษ วัดเส้นผ่าศูนย์กลางของสาย โตเป็นมิล(1มิล=1/1,000นิ้ว) และวัดพื้นที่หน้าตัดเป็นเซอร์คูลาร์มิล และยาว 1 ฟุต ณ อุณหภูมิที่กำหนด จะมีความต้านทานจำเพาะจำนวนหนึ่ง เช่น สายทองแดงขนาด 1 เซอร์คูลาร์มิล – ฟุต ที่อุณหภูมิ 20 C จะมีความต้านทาน 10.4 โอห์ม
ในระบบเมตริก วัดเส้นผ่าศูนย์กลางหน่วยเป็น เซนติเมตร และวัดพื้นที่หน้าตัดเป็นตารางเซนติเมตร และยาว 1 เซนติเมตร ณ อุณหภูมิที่กำหนดจะมีความต้านทานจำนวนหนึ่ง เช่น สายทองแดงขนาน 1 ตร.ซม. จะยาว 1 เมตร ที่อุณหภูมิ 20 C จะมีความต้านทาน 1.72 10 โอห์ม
หรือความต้านทานจำเพาะของตัวนำใดๆ หมายถึง ความต้านทานของวัตถุชนิดนั้นมีความยาว 1 เมตร พื้นที่หน้าตัด 1 มม. ที่อุณหภูมิ 20 C






ตารางที่ 2.1 แสดงความต้านทานจำเพาะที่อุณหภูมิ 20 C และสัมประสิทธิ์อุณหภูมิ
ชนิดของวัตถุ
โอห์ม – ฟุต หรือ
เซอร์คูลาร์มิล – ฟุต
โอห์ม – ซม. หรือ
โอห์ม/ลูกบาศก์เมตร
โอห์ม – เมตร หรือ
โอห์ม/ลูกบาศก์เมตร
ค่าสัมประสิทธิ์อุณหภูมิ
ทองแดง
เงิน
อะลูมิเนียม
เหล็ก
ทองเหลือง
ทังสเตน
แพลทินัม
นิโครม
10.4
8.85
16.9
60 – 84
42
33
66.2
600
1.72
1.47
2.63
10 – 14
6 – 8
5.5
11
100
1.72
1.47
2.63
10 – 14
6 – 8
5.5
11
100
0.00393
0.0038
0.0039
0.0055
-
0.0045
-
-
สูตรหา ความต้านทานของสาย
R =
เมื่อ R = ค่าความต้านทานหน่วยเป็นโอห์ม
= ค่าความต้านทานจำเพาะ
หน่วย - โอห์มต่อเซอร์คูลาร์มิล – ฟุต
- โอห์มต่อลูกบาศก์เซนติเมตร
- โอห์มต่อลูกบาศก์เมตร
= ความยาวหน่วยเป็น ฟุต เชนติเมตร หรือ เมตร
A = พื้นที่หน้าตัดของลวดตัวนำ หน่วยเป็น เซอร์คูลาร์มิล, ตารางมิลลิเมตร หรือ ตารางเซนติเมตร
ตัวอย่างที่ 2.1
จงหาความต้านทานของสายทองแดงที่มีพื้นที่หน้าตัด 750,000 เซอร์คูลาร์มิล ยาว 2,500 ฟุต
วิธีทำ จากสูตร R =
ความต้านทานจำเพาะของลวดทองแดง = 10.4 เซอร์คูลาร์มิล – ฟุต
= 2,500 ฟุต
A = 750,000 เซอร์คูลาร์มิล
แทน R = 10.4 ( 2,500/750,000)
= 0.035 โอห์ม
ความต้านทานทองแดง = 0.035 โอห์ม
2.7 ผลของอุณหภูมิต่อค่าความต้านทาน
สารตัวนำส่วนใหญ่ ค่าความต้านทานจะเพิ่มขึ้นเมื่ออุณหภูมิเพิ่มขึ้น และถ้าอุณหภูมิต่ำลง ค่าความต้านทานของสารจะลดต่ำลงด้วย เพราะเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยน การปล่อยอิเล็กตรอนจากปรมาณูของสารก็เปลี่ยนตามไปด้วย
สารหนึ่งๆ จะเปลี่ยนแปลงความต้านทานไปเป็นกี่เท่าของความต้านทานเดิมเมื่ออุณหภูมิสูงขึ้น 1 C เรียกว่า สัมประสิทธิ์อุณหภูมิของความต้านทาน (Temperature Coefficient of Resistance)
2.8 ค่าอุณหภูมิสมบูรณ์ (Absolute Temperature)
คือค่าของอุณหภูมิที่ทำให้วัสดุตัวนำนั้นๆ มีค่าความต้านทานเท่ากับ ศูนย์
ตารางที่2.2 ค่าอุณหภูมิสมบูรณ์ของวัสดุบางชนิด

ชนิดของวัสดุ
ค่าอุณหภูมิสมบูรณ์
นิกเกิล
เหล็ก
ทังสเตน
ทองแดง
อะลูมิเนียม
เงิน
ทอง
-147
-180
-202
-235
-236
-243
-274
2.9 ค่าสัมประสิทธิ์อุณหภูมิ
คือ ค่าความต้านทานที่เพิ่มขึ้น เมื่อความต้านทานท1 โอห์ม ร้อนขึ้น 1 C
ตาราง 2.3 ตารางค่าสัมประสิทธิ์อุณหภูมิของความต้านทานของวัสดุตัวนำบางชนิด เมื่ออุณหภูมิ 20 C
ชนิดของวัสดุ
ค่าสัมประสิทธิ์อุณหภูมิ
นิกเกิล
เหล็ก
ทังสเตน
ทองแดง
อะลูมิเนียม
เงิน
ทอง
0.006
0.0055
0.0045
0.00393
0.0039
0.0038
0.0034
ความต้านทานจะเปลี่ยนไปตามอุณหภูมิที่เปลี่ยนแปลงตามความสัมพันธ์ ดังนี้
จากสูตร R = R (1+a (t - t ) )
เมื่อ R = ความต้านทานเมื่ออุณหภูมิครั้งแรก
R = ความต้านทานเมื่ออุณหภูมิเปลี่ยนไป
t = อุณหภูมิครั้งแรก
t = อุณหภูมิเปลี่ยนไป
a = ค่าสัมประสิทธิ์อุณหภูมิของความต้านทาน
2.10 ความนำ (Conductance)
ความนำเป็นส่วนกลับของความต้านทาน ซึ่งหมายถึง คุณสมบัติของสารที่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านง่ายๆ นั้นคือความสามารถในการนำไฟฟ้าของตัวนำ ใช้สัญลักษณ์คือ G มีหน่วยเป็นซีเมนส์ (Siemens) ใช้ตัวย่อ S
G = 1/R ซีเมนส์
R = 1/G โอห์ม (ohm)

geovisit();

กฎของโอห์ม

กฎของโอห์ม
E = IR
I = กระแส มีหน่วยเป็น แอมแปร์ (A)
E = แรงดัน มีหน่วยเป็น โวลต์ (V)
R = ความต้านทาน มีหน่วยเป็น โอห์ม (W)
ตัวอย่าง จงหาค่าความต้านทานของ R
จากสูตร R = E/I
E = 24 V.
I = 0.5 A.
R = 24/0.5 = 48 โอห์ม
ตัวอย่าง จงหากระแสที่ไหลในวงจร
I = E/R
E = 12 V.
R = 10 W
I = 12/10 = 1.2 แอมแปร์
กำลังไฟฟ้า
P = EI
P = กำลังไฟฟ้า มีหน่วยเป็น วัตต์ (W)
E = แรงดันไฟฟ้า มีหน่วยเป็น โวลต์ (V.)
I = กระแสไฟฟ้า มีหน่วยเป็น แอมแปร์ (A)
จาก E = IR
จะได้ P = (IR)I
=
จาก I = E/R
จะได้ P = E(E/R)
= วัตต์
ตัวอย่าง หลอดไฟฟ้า 40 วัตต์ ใช้กับแรงดันไฟฟ้า 220 โวลต์ จงหา
ก) กระแสที่ไหลผ่านหลอด
ข) ความต้านทานของหลอดไฟฟ้า
จากสูตร P = EI
P = 40 W.
E = 220 V.

I = 40/220 = 0.1818 A. #
จากสูตร
= 1210.3 W
ตัวอย่าง จากวงจรจงหา
ก) กระแสภายในวงจร
ข) กำลังไฟฟ้าของตัวต้านทาน
จาก I = E/R
E = 50 V.
R = 10 ohm
I = 50/10 = 5 A.


= 250 W.

การต่อความต้านทาน

การต่อความต้านทาน
1. การต่อความต้านทานแบบอนุกรม

Rt = ความต้านทานรวม
R1,R2,R3, = ความต้านทานย่อย
ตัวอย่าง จงหาความต้านทานรวมของวงจร
R1 = 5 W, R2 = 10W, R3 = 20W, R4 = 30W

Rt = 5+10+20+30
= 65 W
ค่าความต้านทาน = 65 โอห์ม
2. การต่อความต้านทานแบบขนาน

Rt = ความต้านทานรวม
R1,R2,R3, = ความต้านทานย่อย
ตัวอย่าง จงหาความต้านทานรวมของวงจร
R1 = 5W, R2 = 10W, R3 = 10W, R4 = 20W
จาก
1/Rt = 1/5 + 1/10 + 1/10 + 1/20
= (4+2+2+1)/20
1/Rt = 9/20
Rt = 20/9W
3. การต่อความต้านทานแบบผสม
ตัวอย่าง จงหาความต้านทานรวมของวงจร
R2 และ R3 ต่อขนานกัน

R1, R2-3, R4 ต่ออันดับกัน
Rt = R1 + R2-3 + R4
= 3 + 2.67 + 2 = 7.67W
ค่าความต้านทานรวม (Rt) = 7.67 W
วิธีการแปลงค่าความต้านทานเทียบเท่า
จาก เดลตา (D) Þ เป็น สตาร์ (Y)
สตาร์ (Y) Þ เป็นเดลตา (D)

การแปลงค่าความต้านทานจาก D เป็น Y

จากรูปจะได้

( åRD = RA + RB + RC )
åRD = ผลรวมของความต้านทานทั้งสามตัวที่ต่อแบบเดลตา(D)
R1, R2, R3 = ความต้านทานที่ต่อแบบสตาร์(Y)
การแปลงค่าความต้านทานจากวาย (Y) เป็น เดลตา (D)


จากรูปจะได้


åRy = ผลรวมของผลคูณของความต้านทานแต่ละคู่ที่ต่อแบบสตาร์
RA, RB, RC, = ตัวต้านทานที่ต่อแบบเดลตา (D)
ตัวอย่าง จากรูปจงหาความต้านทาน RA, RB, RC, จากการแปลงความต้านทานเทียบเท่าจาก Y เป็น D



= 50 + 150 + 75
= 275 W

ตัวอย่าง จงแปลงค่าความต้านทานจาก D เป็น Y หาค่า R1, R2, R3, ในรูปของ Y

åRD = RA + RB + RC = 2 + 4 + 5 = 11W

ตัวอย่าง จากวงจรจงหาความต้านทานรวมที่จุด AB
จากวงจร R1, R2, R3, ต่อกันแบบเดลตา (D) แปลงเป็น วาย(Y)

จากวงจร Ry3 ต่ออันดับกับ R4, Rt1 = 0.9 + 6 = 6.9 W
Ry2 ต่ออันดับกับ R5, Rt2 = 0.72 + 3 = 3.72 W
Rt1 และ Rt2 ต่อขนานกัน รวมกันอย่างขนาน

Ry1, Rt1-2 ต่อแบบอันดับ

geovisit();

คุณสมบัติของวงจรไฟฟ้า

คุณสมบัติของวงจรไฟฟ้า
คุณสมบัติของวงจรอนุกรม

1.
2.
3.
เมื่อ
E คือแรงดันไฟฟ้าตกคร่อมวงจรทั้งหมด
V1, V2, V3, V4 คือแรงดันไฟฟ้าตกคร่อมความต้านทานแต่ละตัว

ตัวอย่าง จากวงจรจงหา
ก. ความต้านทานรวมในวงจร
ข. กระแสไฟฟ้าในวงจร
ค. แรงดันไฟฟ้าตกคร่อมความต้านทานแต่ละตัว
ง. กำลังไฟฟ้าที่ความต้านทานแต่ละตัวและกำลังไฟฟ้าทั้งหมด
วิธีทำ
ก. ความต้านทานรวมในวงจร (Rt)

ข. กระแสไฟฟ้าในวงจร
I = E/Rt
= 110/30
= 3.67 A.
ค. แรงดันไฟฟ้าตกคร่อมที่ความต้านทานแต่ละตัว

ง. กำลังไฟฟ้าที่

คุณสมบัติของวงจรขนาน
1.


2.
3.
ตัวอย่าง
จากวงจรจงหา
ก. ค่าความต้านทานรวมในวงจร
ข. กระแสไหลผ่านความต้านทานแต่ละตัว และกระแสไหลผ่านวงจรทั้งหมด
ค. กำลังไฟฟ้าที่ความต้านทานแต่ละตัว และกำลังไฟฟ้าทั้งหมด
วิธีทำ
ก. หาความต้านทานรวมในวงจร

ข. กระแสที่ไหลในวงจร

ค. กำลังไฟฟ้าที่ R1 คือ P1
P1 =
กำลังไฟฟ้าที่ R2 คือ P2
P2 =
กำลังไฟฟ้าที่ R3 คือ P3
P3 =
Pt = P1 + P2 + P3
= 144 + 96 72
= 312 วัตต์
หรือ

วงจรผสม
ตัวอย่าง

จากวงจรจงหาค่า
ก. ความต้านทานรวม
ข. กระแสทั้งหมดในวงจร It
ค. แรงดัน V1, V2
ง. กระแส I2, I3, I4
วิธีทำ
ก. R2, R3, R4 ต่อกันอย่างขนาน รวมกันอย่างขนานได้

ข. กระแสทั้งหมดในวงจร It
It = E/Rt
= 12/5.636
= 2.129 โอห์ม
ค. แรงดัน

ง. กระแส

วงจรไฟฟ้ากระแสตรง

ความรู้เรื่องไฟฟ้าทั่วไป
1.1 ทฤฎีอิเล็กตรอน (Electron Theory)
สสารต่างๆ มีอยู่ 3 สถานะ คือ ของแข็ง ของเหลว และ ก๊าซ ซึ่งสสารทั้ง 3 สถานะนี้อาจจะอยู่ในรูปของธาตุ สารประกอบ และของผสม อย่างใดอย่างหนึ่ง ของแข็งของเหลวและก๊าซนี้ต่างประกอบขึ้นจากส่วนเล็กๆ ซึ่งเรียกว่า โมเลกุล (Molecule) และ 1 โมเลกุลนั้น เมื่อแบ่งลงไปเรื่อยๆ จนกระทั่งเป็นอนุภาคที่เล็กที่สุดเท่าที่จะทำได้ เรียกว่า อะตอม (Atom)
สารที่โมเลกุลของมันประกอบด้วยอะตอมชนิดเดียวกัน เรียกว่า ธาตุ (Element)
สารที่โมเลกุลของมันประกอบด้วยอะตอมต่างชนิดกัน เรียกว่า สารประกอบ (Compound) เช่น โมเลกุลของน้ำ จะประกอบด้วย ไฮโดรเจน 2 อะตอม และออกซิเจน 1 อะตอม
ในอะตอมหนึ่งๆ แต่ละชนิด ประกอบด้วยอนุภาคมูลฐานสำคัญ 3 ส่วนตือ โปรตอน (Proton) นิวตรอน (Neutron) และอิเล็กตรอน (Electron)
โปรตอน มีอำนาจไฟฟ้า บวก
นิวตรอน มีอำนาจไฟฟ้า กลาง
อิเล็กตรอน มีอำนาจไฟฟ้า ลบ
โปรตอนและนิวตรอนอยู่ภายในนิวเคลียส (Nucleus) อิเล็กตรอนที่มีอำนาจเป็นลบจะวิ่งอยู่รอบๆนิวเคลียสด้วยความเร็วสูง อิเล็กตรอนเบากว่าโปรตอนประมาณ 1850 เท่า เพราะอิเล็กตรอนเบามากนี่เองจึงถูกแรงไฟฟ้าทำให้เคลื่อนที่ไปได้ โดยสภาพปกติทั่วๆไปแล้ว อะตอมของธาตุที่มีคุณสมบัติทางไฟฟ้าที่เป็นกลาง ในอะตอมหนึ่งๆ จะมีจำนวนโปรตอนที่เท่ากับจำนวนอิเล็กตรอนเสมอ เช่น อะตอมของไฮโดรเจน ที่นิวเคลียสจะมีโปรตอน 1 ตัว และอิเล็กตรอนรอบๆ 1 ตัว อะตอมของฮีเลียม ที่นิวเคลียสจะมีโปรตอน 2 ตัว และอิเล็กตรอนโคจรรอบๆ 2 ตัว
1.2 วงอิเล็กตรอน (Electron Shell)
ในอะตอมของสารที่มีอิเล็กตรอนโคจรเป็นวงรอบๆ นิวเคลียสนั้นๆ แต่ละวงจะมีอิเล็กตรอนแตกต่างกันออกไป อิเล็กตรอนแต่ละตัวจะมีพลังงานที่ขึ้นอยู่กับค่า N โดยกำหนดให้ระดับพลังงานต่ำที่สุดคือ n=1 ระดับที่สูงขึ้นไปคือ n= 2,3,4,…….ขึ้นไปตามลำดับ ระดับพลังงานนี้จะถูกแบ่งเป็นวง (Shell) ซึ่งแทนด้วยตัวอักษร K,L,M,N,O,P,Q จำนวนอิเล็กตรอนที่มีได้มากที่สุดในระดับพลังงานระดับใดระดับหนึ่งมีค่าเท่ากับ เช่นในชั้น K จะมีอิเล็กตรอนได้อย่างมากที่สุดเท่ากับ =2 ตัวเป็นต้น นอกจากนี้อิเล็กตรอนในวงนอกสุดจะต้องมีไม่เกิน 8 ตัว เช่น อะตอมของทองแดงมีอิเล็กตรอน 29 ตัว แบ่งตามวงได้ดังนี้
วง K มีอิเล็กตรอนได้ = 2 ตัว (n=1)
วง L มีอิเล็กตรอนได้ = 8 ตัว(n=2)
วง M มีอิเล็กตรอนได้ = 18 ตัว(n=3)
วง N มีอิเล็กตรอนได้ 1 ตัว
1.3 วาเลนซ์อิเล็กตรอน (Valence Electron)
วงของอิเล็กตรอนที่มีบทบาทในการรวมตัวกับอะตอมของธาตุอื่น คือวงที่อยู่ชั้นนอกสุดและจำนวนอิเล็กตรอนในวงชั้นนอกสุดนี้จะมีอิเล็กตรอนได้ไม่เกิน 8 ตัว
วงที่อยู่ชั้นนอกสุดเรียกว่า เวเลนซ์เชลล์ (Valence Shell)
อิเล็กตรอนที่อยู่ชั้นนอกสุดเรียกว่า เวเลนซ์อิเล็กตรอน (Valence Electron)
1.4 อิเล็กตรอนอิสระ (Free Electron)
เมื่อจ่ายแรงดันไฟฟ้าให้กับตัวนำไฟฟ้า หรือเมื่อให้พลังงานแก่อิเล็กตรอน เช่น ความร้อน แสงรังสี หรือพลังงานรูปอื่นๆ จะทำให้อิเล็กตรอนที่อยู่วงนอกสุดของอะตอม หรือที่เรียกว่าValence Electron ถูกผลักให้หลุดออกจากวงโคจร กลายเป็นอิเล็กตรอนอิสระ (Free Electron) ซึ่งอิเล็กตรอนอิสระนี่เองทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าในตัวนำ
1.5 แรงดัน ความต่างศักย์ทางไฟฟ้า
แรงดันที่ทำให้อิเล็กตรอนเคลื่อนที่ไปในตัวนำ แล้วทำให้เกิดกระแสไฟฟ้าขึ้นนั้นอาจจะเรียกว่า
1) แรงเคลื่อนไฟฟ้า (Electromotive Force)
2) แรงดันไฟฟ้า (Voltage)
3) ความต่างศักย์ไฟฟ้า (Difference in Potential)
เมื่อมีความต่างศักย์ไฟฟ้าเกิดขึ้นระหว่างตัวประจุไฟฟ้าทั้งสองที่มีตัวนำให้ถึงกันจะทำให้อิเล็กตรอนไหลไปตามตัวนำ โดยจะไหลออกจากตัวประจุไฟฟ้าลบไปสู่ตัวประจุไฟฟ้าบวก การไหลของอิเล็กตรอนจะมีต่อเนื่องกัน แรงที่ผลักดันให้อิเล็กตรอนไหลได้มากหรือน้อย คือ แรงเคลื่อนไฟฟ้า ซึ่งเกิดจากความต่างศักย์ของประจุไฟฟ้า แต่เนื่องจากศักย์ของการประจุไฟฟ้าแต่ละตัววัดเป็น โวลต์ ด้วย และแรงดันไฟฟ้าก็ต้องวัดเป็นโวลต์ตามความต่างศักย์ระหว่างประจุไฟฟ้าสองตัว ซึ่งจะทำให้เกิดมีแรงดันไฟฟ้าขึ้นได้นี้ เรียกอีกอย่างหนึ่งว่า โวลเตจ (Voltage)
1.6 วิธีการเบื้องต้นในการทำให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้า
(Prinmary Methods of Producing a Voltage)
การที่จะทำให้แรงเคลื่อนไฟฟ้าเกิดขึ้นได้นั้น สามารถทำได้ 6 วิธีด้วยกันคือ
1) การขัดสี (Friction) แรงเคลื่อนไฟฟ้าจะเกิดขึ้นได้โดยการนำวัตถุสองชนิดมาถูกัน
2) แรงกดดัน (Pressure) แรงเคลื่อนไฟฟ้าจะเกิดขึ้นได้โดยการบีบตัวของผลึก (Crystal) ของสารชนิดหนึ่ง
3) ความร้อน (Heat) แรงเคลื่อนไฟฟ้าจะเกิดขึ้นได้โดยการให้ความร้อนที่จุดต่อของโลหะที่ต่าวชนิดกัน
4) แสงสว่าง (Light) แรงเคลื่อนไฟฟ้าจะเกิดขึ้นได้โดยเมื่อแสงสว่างกระทบกับกับสารเคมีที่ไวต่อแสง
5) กิริยาเคมี (Chemical Action) แรงเคลื่อนไฟฟ้าจะเกิดขึ้นได้โดยปฏิกิริยาเคมี (Chemical Reaction) เช่นแบตเตอรี่
6) อำนาจแม่เหล็ก (Magnetism) แรงเคลื่อนไฟฟ้าจะเกิดขึ้นในตัวนำไฟฟ้าได้เมื่อตัวนำเคลื่อนที่ผ่านสนามแม่เหล็ก หรือสนามแม่เหล็กเคลื่อนที่ผ่านตัวนำ ซึ่งลักษณะเช่นนี้ ตัวนำจะตัดเส้นแรงสนามแม่เหล็ก
1.7 หน่วยแรงเคลื่อนไฟฟ้า (Unit of Electromotive Force)
แรงเคลื่อนไฟฟ้าเขียนแทนด้วย E มีหน่วยเป็น โวลต์ ความต่างศักย์ไฟฟ้าที่เกิด 1 โวลต์ ระหว่างสองจุด เกิดจากงานที่ใช้ไป 1 จูล (Joule) เพื่อทำให้ปริมาณไฟฟ้าเคลื่อนที่ไประหว่างจุดทั้งสองได้ 1 คูลอมบ์ หรือแรงเคลื่อน 1 โวลต์ หมายถึงแรงเคลื่อนไฟฟ้าที่ทำไห้กระแสไฟฟ้า 1 แอมป์ ไหลผ่านความต้านทาน 1 โอห์ม
การแปลหน่วยของโวลต์ เปลี่ยนเป็นหน่วยที่เล็กกว่าและใหญ่กว่าโวลต์ได้ดังนี้
1 milli-Volt (mV) = = Volts
1 kilo-volt (kV) = = 1000 Volts
1 Mega-Volt (MV) = = 1000000 Volts
1.8 กระแสไฟฟ้า (Electric Current)
กระแสไฟฟ้า เขียนแทนด้วย I มีหน่วยเป็น แอมแปร์ (Ampere) กระแส 1 แอมแปร์ หมายถึงปริมาณอิเล็กตรอนจำนวน ตัว หรือคูลอมบ์ ไหลผ่านจุดใดจุดหนึ่งในเวลา 1 วินาทีได้
ถ้านำเอาตัวนำต่อระหว่างขั้วบวกและขั้วลบ จะปรากฏว่า อิเล็กตรอนที่อยู่ทางขั้วลบจะวิ้งผ่านตัวนำเข้าหาโปรตอนทางขั้วบวกทันที การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนนี้เรียกว่ากระแสอิเล็กตรอน (Electric Current) ในทางตรงข้าม จะเกิดกระแสของประจุบวกไหลสวนทางกับกระแสอิเล็กตรอน ซึ่งเรียกกระแสนี้ว่ากระแสสมมุติหรือกระแสนิยม (Conventional Current) หรือเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า กระแสไฟฟ้า (Electric Current)
ปริมาณของไฟฟ้า 1 คูลอมบ์ (Coulomb) มีจำนวนอิเล็กตรอน ตัวใช้สัญลักษณ์ของคูลอมบ์ คือ Q
กระแสไฟฟ้าวัดได้จากการไหลของอิเล็กตรอน ตัว หรือ1 คูลอมบ์ สามารถเคลื่อนที่ผ่านจุดนั้นในเวลา 1 วินาที ปริมาณของอิเล็กตรอนที่ไหลผ่านมีค่า 1 แอมแปร์ (Ampere)


เมื่อ
I คือ กระแสไฟฟ้า หน่วย แอมแปร์
Q คือ ปริมาณไฟฟ้า หน่วย คูลอมบ์
T คือ เวลา หน่วย วินาที
หน่วยของกระแสไฟฟ้าสามารถเปลี่ยนเป็นหน่วยใหญ่กว่าและเล็กกว่าแอมแปร์ได้ดังนี้
Microamp = Amp
Milliamp = Amp
Kiloamp = Amp

ตัวต้านทานไฟฟ้ากระแสสลับ

ความต้านทานไฟฟ้า คือ หน่วยวัดปริมาณความต้านทานกระแสไฟฟ้าของวัตถุ วัตถุที่มีความต้านทานต่ำจะยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ง่าย เรียกว่า ตัวนำไฟฟ้า ในขณะที่ฉนวนไฟฟ้ามีความต้านทานสูงมากและไม่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านค่าความต้านทานไฟฟ้า ใช้สัญลักษณ์ R มีหน่วยเป็นโอห์ม (Ω) มีค่าเป็นส่วนกลับของ ความนำไฟฟ้า (Conductivity) หน่วยซีเมนส์กฎของโอห์มเขียน ความสัมพันธ์ระหว่าง แรงดันไฟฟ้า (V) , กระแสไฟฟ้า (I) และความต้านทาน (R) ไว้ดังนี้: R = V / I จากการวัดกับวัสดุต่างๆ ที่สภาวะต่างๆ กัน มักปรากฏว่าความต้านทาน ไม่ขึ้นกับปริมาณกระแสไฟฟ้า หรือ แรงดันไฟฟ้า กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ มีค่าความต้านทานคงที่ความต้านทานไฟฟ้ากระแสสลับเมื่อไฟฟ้ากระแสสลับไหลผ่านตัวนำ กระแสไฟฟ้าจะมีมากบริเวณผิวเทียบกับกึ่งกลางตัวนำ เรียกปรากฏการณ์ดังกล่าวว่า Skin effect และยึ่งความถี่กระแสไฟฟ้าสูงขึ้น ตัวนำไฟฟ้าจะมีความต้านทานมากขึ้นจากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
โดย: วัฒนะชัย พรมสี [21 ส.ค. 51 11:10] ( IP A:119.42.66.95 X: )

ความคิดเห็นที่ 2 ขดลวดตัวนำในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ ขดลวดตัวนำมีลักษณะเป็นขดลวดไฟฟ้าแบบขดโซลีนอยด์ที่เคยเรียนมาแล้ว ดังรูป รูปที่ 1 ขดลวดโซลีนอยด์ เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านขดลวดตัวนำก็จะเกิดสนามแม่เหล็กขึ้นในขดลวดตัวนำ ตามสูตร ถ้าในวงจรมีกระแสไฟฟ้าเปลี่ยนแปลงก็จะมีผลทำให้สนามแม่เหล็กเปลี่ยนแปลงด้วย ทำให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำ ตามสูตร จะเห็นได้ว่า เมื่อมีกระแสไฟฟ้าเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในวงจร ก็จะมีกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำเกิดขึ้นในวงจรโดยแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำจะเป็นปฏิภาคโดยตรงกับค่าลบของอัตราการเปลี่ยนค่ากระแสไฟฟ้านั้น เกิดค่าคงที่ของขดลวดขึ้น L เรียกว่าค่าความเหนี่ยวนำไฟฟ้าของขดลวดตัวนำ (Self inductance of an inductor) ถ้ากระแสไฟฟ้าเพิ่มขึ้นก็จะมีค่าแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำต่อต้านการเพิ่มหรือมีการนำพลังงานไฟฟ้าไปเก็บไว้ในรูปของพลังงานแม่เหล็กที่เพิ่มขึ้นนั่นเอง ในทางตรงกันข้ามถ้ากระแสไฟฟ้าลดลงก็จะเกิดแรงเคลื่อรไฟฟ้าเหนี่ยวนำในทิศต่อต้านการลดหรือเสริมทิศของกระแสไฟฟ้านั่นเอง ดังรูป รูปที่ 2 ขดลวดตัวนำกับการเปลี่ยนกระแสไฟฟ้า ในวงจรไฟฟ้ากระแสตรงสม่ำเสมอ ขดลวดตัวนำจะทำหน้าที่เป็นตัวต้านทานตัวหนึ่งเท่านั้น แต่ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ ขดลวดตัวนำจะทำหน้าที่เป็นตัวต้านทานและเครื่องมือในการเก็บพลังงาน ในกรณีที่ถือว่าเป็นขดลวดตัวนำที่ไม่มีความต้านทานจะให้ผลต่อวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ ดงัรูป รูปที่ 3 ขดลวดตัวนำในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ เขียนสมการเปลี่ยนแปลงได้ดังนี้ ตามผลที่เกิดขึ้นจะเห็นได้ว่า เฟสของกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ไฟฟ้าไม่โตรงกันโดยความต่างศักย์ไฟฟ้ามีเฟสนำหน้ากระแสไฟฟ้าเป็นมุม 90 ํ หรือ เรเดียน และเกิดความต้านทานไฟฟ้ากระแสสลับตามสูตร ซึ่งจะเห็นได้ว่าถ้าเป็นไฟฟ้ากระแสตรงสม่ำเสมอ ค่าความถี่จะเป็นศูนย์ทำให้ค่า เป็นศูนย์ด้วย ในวงจรไฟฟ้ากระแสตรงจึงถือว่าขดลวดตัวนำทำหน้าที่เป็นตัวต้านทานตามปกติเท่านั้น ค่าความต้านทานไฟฟ้ากระแสสลับ นี้เรียกว่า ความต้านทานเชิงการเหนี่ยวนำ http://www.sk.th.gs/web-s/k/current/ler.html
โดย: นิรันทร์ สาแช [21 ส.ค. 51 11:13] ( IP A:119.42.66.95 X: )

ความคิดเห็นที่ 3 ความต้านทานไฟฟ้ากระแสสลับเมื่อไฟฟ้ากระแสสลับไหลผ่านตัวนำ กระแสไฟฟ้าจะมีมากบริเวณผิวเทียบกับกึ่งกลางตัวนำ เรียกปรากฏการณ์ดังกล่าวว่า Skin effect และยึ่งความถี่กระแสไฟฟ้าสูงขึ้น ตัวนำไฟฟ้าจะมีความต้านทานมากขึ้นที่มา google
โดย: ธนิกกุล [21 ส.ค. 51 11:38] ( IP A:118.173.227.148 X: )

ความคิดเห็นที่ 4 ความต้านทานไฟฟ้ากระแสสลับเมื่อไฟฟ้ากระแสสลับไหลผ่านตัวนำ กระแสไฟฟ้าจะมีมากบริเวณผิวเทียบกับกึ่งกลางตัวนำ เรียกปรากฏการณ์ดังกล่าวว่า Skin effect และยึ่งความถี่กระแสไฟฟ้าสูงขึ้น ตัวนำไฟฟ้าจะมีความต้านทานมากขึ้น
โดย: สามารถ [21 ส.ค. 51 11:45] ( IP A:119.42.66.95 X: )

ความคิดเห็นที่ 5 กระแสไฟฟ้าเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในวงจร ก็จะมีกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำเกิดขึ้นในวงจรโดยแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำจะเป็นปฏิภาคโดยตรงกับค่าลบของอัตราการเปลี่ยนค่ากระแสไฟฟ้านั้น เกิดค่าคงที่ของขดลวดขึ้น L เรียกว่าค่าความเหนี่ยวนำไฟฟ้าของขดลวดตัวนำ (Self inductance of an inductor) ถ้ากระแสไฟฟ้าเพิ่มขึ้นก็จะมีค่าแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำต่อต้านการเพิ่มหรือมีการนำพลังงานไฟฟ้าไปเก็บไว้ในรูปของพลังงานแม่เหล็กที่เพิ่มขึ้นนั่นเอCopyright © 2007 All right reserved
โดย: มนูญ สารเรือน [21 ส.ค. 51 11:48] ( IP A:118.173.227.148 X: )

ความคิดเห็นที่ 6 ความจุไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ ตัวจุหรือเครื่องเก็บประจุไฟฟ้าที่เคยเรียนมาแล้วในเรื่องไฟฟ้าสถิตประกอบไปด้วยแผ่นโลหะมีฉนวนกั้นอยู่ตรงกลาง ดังนั้นเมื่อนำมาใช้ในวงจรไฟฟ้า จึงถือว่าวงจรขาด กระแสไฟฟ้าไม่สามารถเคลื่อนที่ผ่านระหว่างแผ่นของตัวจุได้ อย่างไรก็ตามในความเป็นจริงจะมีกระแสไฟฟ้าชั่วขณะที่เกิดขึ้นทำให้มีประจุไฟฟ้าที่แผ่นบวกและเหนี่ยวนำให้เกิดประจุไฟฟ้าลบที่แผ่นลบ จนประจุเต็มแล้วก็จะหยุดทำหน้าที่เหมือนวงจรเปิดต่อไป ดังรูป รูปที่ 1 การประจุไฟฟ้าของเครื่องเก็บประจุไฟฟ้า เมื่อนำเครื่องเก็บประจุไฟฟ้ามาใช้กับไฟฟ้ากระแสสลับ ก็จะทำให้มีการเหนี่ยวนำไฟฟ้ากลับไปกลับมาผ่านตัวจุนี้ตลอดเวลา ดูคล้ายกับว่ามีกระแสไฟฟ้าเคลื่อนที่ผ่านตัวจุนี้ได้ ดังรูป

มอเตอร์ไฟฟ้าเหนี่ยวนำ

อายุใช้งานของมอเตอร์ไฟฟ้าเหนี่ยวนำ
-->

ในการใช้งานมอเตอร์ในอุตสาหกรรมหรือในทางด้านเกษตรกรรมนั้น ผู้ใช้โดยทั่วไปคิดว่ามอเตอร์นั้นแข็งแรงทนทานไม่จำเป็นต้องดูแลมาก ดังนั้นเมื่อติดตั้งเสร็จเรียบร้อยแล้วก็จะใช้งานไปจนกว่าจะมีปัญหาคือ ขดลวดของมอเตอร์เกิดลัดวงจรเสียหาย หรืออุปกรณ์ป้องกันมีการตัดมอเตอร์ออก
ซึ่งเมื่อเกิดปัญหามอเตอร์ไม่ทำงาน ผู้ใช้จะให้ความสนใจที่ตัว Over-current relay หรือระบบควบคุมที่มีการตัดมอเตอร์ออก (Trip)โดยการป้องกันตัวเองของระบบควบคุมควรที่จะต้องถามว่าการติดของระบบควบคุมเกิดจากสาเหตุอะไร เพราะถ้าไม่ทราบสาเหตุของปัญหาเมื่อเคยเกิดการตัดระบบออกแล้วโดยปกติจะเกิดซ้ำขึ้นอีก การที่ผู้ควบคุมเครื่องจักรยังไม่ได้แก้ปัญหาที่เป็นสาเหตุที่ทำให้เกิดการตัดระบบ แต่ทำการแก้ไขที่ปลายเหตุโดยทำให้เครื่องจักรทำงานต่อไปได้ ดังนั้นเมื่อใช้งานต่อไประยะหนึ่งจะเกิดการตัดการทำงานของมอเตอร์อีก ถ้ายังไม่แก้ไขก็จะเกิดปัญหาอย่างนี้ซ้ำๆ จนในที่สุดจะเสียหายอย่างรุนแรงและหาสาเหตุไม่ได้ เพราะในแต่ละครั้งของการตัดของวงจรป้องกันโดยที่ไม่ได้แก้ที่ต้นเหตุของปัญหา ซึ่งในคอลัมน์คลินิคการใช้มอเตอร์ในอุตสาหกรรมนี้จะพยายามเน้นให้เกิดความรู้ความเข้าใจในทางด้านเทคนิคและการบำรุงรักษาเครื่องจักรให้มีอายุยืนยาวคุ้มกับเงินลงทุน และสามารถทำงานโดยไม่ก่อให้เกิดปัญหามอเตอร์ไฟฟ้าเหนี่ยวนำ ถ้าจะถามถึงอายุต้องดูองค์ประกอบหลักของมอเตอร์ในแต่ละส่วนว่า แต่ละส่วนมีอายุใช้งานกี่ปี และอะไรเป็นสาเหตุที่ทำให้แต่ละส่วนเสียหาย ซึ่งจะนำไปสู่การใช้งานที่เหมาะสมในอนาคต โดยมีส่วนประกอบหลักๆ ดังนี้คือ
1) ฉนวนของขดลวดภายในมอเตอร์2) ลูกปืนที่เป็นส่วนรองรับการเคลื่อนไหวของตัวหมุน3) สภาพแวดล้อมที่กัดกร่อน รวมไปถึงการออกแบบโครงสร้าง4) การติดตั้งมอเตอร์ขับภาระทางกล5) ระบบควบคุมและป้องกันมอเตอร์
ซึ่งนั่นหมายความว่าจะต้องมีการใช้งานอย่างถูกต้อง และเข้าใจเรื่องการบำรุงรักษาจึงสามารถกำหนดอายุของมอเตอร์ได้อย่างถูกต้อง1) ฉนวนของขดลวดเป็นส่วนที่สำคัญส่วนหนึ่งของมอเตอร์เพราะถ้าฉนวนเสื่อมหรือเสียหายต้องทำการซ่อมขดลวดหรือพันขดลวดใหม่ อายุของฉนวนของขดลวดถ้าอ้างถึงหนังสือ Electrical Machine Design เขียนโดย A.K. Sawhney หน้าที่ 24 เกี่ยวกับอายุของฉนวน Insulation class A ว่าถ้าใช้งานปกติอายุประมาณ 20 ปี และมีสมการความสัมพันธ์ของตัวแปร อุณหภูมิกับอายุของฉนวนซึ่งเป็นสมการที่เกิดจากการคาดการณ์ ซึ่งต้องการชี้ประเด็นว่าถ้าใช้งานที่อุณหภูมิที่สูงขึ้นอายุของฉนวนจะสั้นลง และถ้าลดอุณหภูมิที่ใช้งานให้ต่ำลงอายุก็จะยาวขึ้น ผู้เขียนเองก็เคยมีปัญหาเกิดคำถามว่ารู้ได้อย่างไรว่าอายุประมาณ 20 ปี สำหรับมอเตอร์ที่อยู่ในห้องปฏิบัติการที่ลาดกระบังซึ่งซื้อมาพร้อมกันหลายตัวขณะนี้อายุเกิน 20 ปี แล้วยังคงใช้งานได้ แสดงว่าข้อมูลที่บอกว่ามอเตอร์ใช้งานปกติอายุของฉนวนจะเกิน 20 ปี นั้นเป็นไปได้
แต่ถ้ามีการใช้งานที่ทำให้อุณหภูมิของฉนวนของขดลวดสูงกว่าปกติ ก็จะเกิดผลกระทบกับฉนวนในสองแบบ คือ ถ้าสูงจนทำให้ฉนวนเสื่อมคุณภาพลงจะทำให้อายุของฉนวนสั้นลงแต่ยังคงใช้งานต่อได้ อาการอย่างนี้เกิดจากการที่กระแสไหลเข้ามอเตอร์สูงกว่าพิกัดและมี Over-load relay ช่วยตัดแต่ก็ยังยังส่งผลกระทบคือ ทำให้ฉนวนเสื่อมสภาพลง เหมือนกับวัสดุโดยทั่วไปเมื่อถูกความร้อนอาจจะไม่เสียหายทันทีแต่จะมีการเปลี่ยนสภาพไปบ้าง ซึ่งจะส่งผลกระทบให้อายุของฉนวนสั้นลง แต่เมื่อเกิดซ้ำๆ ช่วงระยะหนึ่งก็จะทำให้ฉนวนเสียหายจะทำให้เกิดการลัดวงจรที่ขดลวดที่เสียหาย ส่วนในอีกกรณีอุณหภูมิสูงมากเกินโดยเกิดจากความผิดปกติแล้วไม่มีอุปกรณ์ป้องกันตัดวงจรออก จะทำให้เกิดความเสียหายที่ฉนวนของขดลวด และเกิดการลัดวงจรในที่สุด ซึ่งในกรณีนี้ครั้งเดียวก็พังทันทีดังนั้น ในกรณีของฉนวนของมอเตอร์การเกิดกระแสไฟฟ้ามากเกินจนทำให้ Over load relay สั่งตัดไฟฟ้าป้อนเข้ามอเตอร์ป้องกันไม่ให้มอเตอร์เสียหายทันที แต่จะส่งผลให้อายุของมอเตอร์สั้นลง วนจะสั้นลงมากน้อยขนาดไหนขึ้นอยู่กับจำนวนครั้งของการเกิด Over- load relay ควรจะทำการแก้ไขหรือหาสาเหตุของการเกิดกระแสป้อนเข้ามอเตอร์เกินค่าพิกัด เพื่อให้เกิดการยืนยันได้ว่าอุณหภูมิที่ใช้งานจริงไม่เกินค่าสูงสุดที่ฉนวนทนได้
2) อายุของลูกปืนของมอเตอร์ซึ่งขึ้นอยู่กับตัวแปรหลายตัว เช่น ภาระของลูกปืน ความเร็วของมอเตอร์ อุณหภูมิขณะทำงาน เกรดของน้ำมันหล่อลื่น นอกจากตัวแปรของการใช้งานแล้วยังมีส่วนที่จำเป็นอีกอย่างคือ การบำรุงรักษาและการเปลี่ยนตามอายุของลูกปืนซึ่งถูกระบุ เพราะถ้าปล่อยจนกระทั่งลูกปืนสึกหรอจะส่งผลให้ช่องอากาศเปลี่ยนไป จนทำให้กระแสป้อนเข้าสูงขึ้นและเกิดความร้อนที่ตลับลูกปืน และถ้าลูกปืนแตกจะส่งผลให้ตัว Rotor ไปถูกับตัว Stator ซึ่งจะทำให้มอเตอร์เสียหายมาก ดังนั้นการเปลี่ยนลูกปืนตามอายุที่ระบุในแต่ละยี่ห้อรวมถึงการบำรุงรักษาตามข้อกำหนดจะช่วยยืดอายุของมอเตอร์ไฟฟ้าเหนี่ยวนำ3) สภาพแวดล้อมที่มีสารเคมี จะมีผลทำให้เกิดสนิมกัดกร่อนที่เปลือกของมอเตอร์ จะทำให้เสียสภาพการระบายความร้อนที่ดี รวมถึงระดับของการห่อหุ้ม (Enclosure) ของมอเตอร์ จะช่วยลดผลกระทบจากสภาพแวดล้อมที่จะส่งผลต่อวัสดุภายในของมอเตอร์ ดังนั้นการออกแบบเลือกชนิดของมอเตอร์ให้เหมาะสมกับสภาพแวดล้อม จะทำให้ลดความเสียหายของมอเตอร์ รวมถึงการบำรุงรักษาเพื่อให้สภาพของมอเตอร์พร้อมในการทำงานและจะช่วยลดผลกระทบจากสภาพแวดล้อม
สรุปในทางด้านสภาพแวดล้อมถูกกำหนดโดยการออกแบบ และเกรดของมอเตอร์ที่ใช้ว่าออกแบบมาดีขนาดไหน เพราถ้าออกแบบมาดี เช่น การใช้สีที่ทนต่อสภาพแวดล้อม รวมถึงการหมั่นบำรุงรักษาก็สามารถยืดอายุของมอเตอร์4) การติดตั้งมอเตอร์ขับภาระทางกล ถ้าติดตั้งได้เหมาะสมในทางด้านระดับไม่มีการบิดระหว่างอุปกรณ์ส่งกำลัง เช่น เกียร์กับมอเตอร์ สายพานกับมอเตอร์รวมถึงอุปกรณ์ต่อประกับ (Coupling) เลือกให้เหมาะสมในการถ่ายทอดกำลังจากมอเตอร์ไปสู่ภาวะทางกล ลดผลกระทบจากการที่ภาระทางกลที่สั่นสะเทือนในแบบต่างๆ กลับมาที่มอเตอร์ทำให้ชิ้นส่วนของมอเตอร์ อาจจะได้รับความเสียหายจากการสั่นสะเทือนของภาระ ดังนั้นอุปกรณ์ต่อประกับก็มีความสำคัญต่อมอเตอร์ ภาระทางกลในตัวของก็อาจส่งผลต่ออายุของมอเตอร์ด้วยเหมือนกัน ถ้าภาระทางกลมีปัญหาอยู่เป็นประจำ ความเสียหายจากภาระทางกลก็ส่งผลกระทบต่อตัวมอเตอร์ทำให้มอเตอร์ต้องใช้กำลังมากขึ้นในการกระจายภาระจนเกิดการ Over-load ซึ่งจะส่งผลเสียหายถึงตัวมอเตอร์ที่ขับเคลื่อนอยู่ทั้งในลักษณะเสียหายทันทีกับในลักษณะเสื่อมสภาพเร็วกว่าปกติ การบำรุงรักษาภาระทางกลเช่นสายพานลำเลียงให้ทำงานอยู่ในสภาพที่ดีเป็นการลดภาระทางกล เพราะถ้าไม่หล่อลื่นรวมถึงการเปลี่ยนลูกกลิ้งที่เสียหายออกกจะทำให้เป็นการบำรุงรักษาภาระทางกล จึงส่งผลกระทบถึงอายุการใช้งานของมอเตอร์ไฟฟ้าเหนี่ยวนำด้วย
5) ระบบควบคุมและป้องกันมอเตอร์ก็เป็นอีกตัวแปรที่จะตอบว่ามอเตอร์ที่ใช้ขับเคลื่อนอยู่ มีอายุกี่ปีหรือใช้งานได้ตามเนื้อแท้ของมอเตอร์ปกติ ในการใช้งานมอเตอร์อยู่ในภาคอุตสาหกรรมการควบคุมที่เหมาะสมจะส่งผลถึงคุณภาพของงานที่ได้รับ เวลาที่ใช้ในการผลิต ต้นทุนและความน่าเชื่อถือ ถ้ามามองถึงอายุการใช้งานมอเตอร์ และอุปกรณ์ต่างๆ ที่ทำงานร่วมกับมอเตอร์ การควบคุมให้มอเตอร์หมุนและหยุดหมุนของมอเตอร์ไฟฟ้าเหนี่ยวนำเป็นช่วงคาบมีอุปกรณ์ให้เลือกใช้ตามความเหมาะสม เช่น - Magnetic Contractor Starter- Soft Starter- PWM Inverter- AC Flux Vector Inverter
และแม้ว่าจะเป็นชนิดเดียวกันแต่การออกแบบภายในของแต่ละยี่ห้อส่งผลถึงคุณภาพในการควบคุม รวมถึงส่งผลต่อตัวมอเตอร์ที่แตกต่างกัน ระบบควบคุมมอเตอร์ได้อย่างเหมาะสม ดังนั้นคำว่าเหมาะสมนั้นแสดงถึงการที่ไม่ใช้อุปกรณ์ที่ดีเกินความจำเป็น แต่ก็จะไม่เลือกอุปกรณ์ควบคุมแบบที่ใช้งานได้ไม่เหมาะ คือใช้งานได้ชั่วขณะโดยไม่พังทันทีแต่จะเสื่อมสภาพอย่างรวดเร็วการป้องกันก็เป็นอีกส่วนหนึ่งที่อยู่ในระบบควบคุม ดังนั้นระบบป้องกันมอเตอร์ที่ดีควรจะฉลาดและแยกแยะระหว่างการทำงานที่ปกติและผิดปกติ รวมถึงจุดตัดสินใจที่เหมาะสมในการที่จะลดปัญหาของการที่ระบบควบคุมตัดบ่อยเกินไป จะทำให้เกิดความเสียหายแก่ขบวนการผลิต ดังนั้นการตั้งจุดตัดเพื่อป้องกันของตัวอุปกรณ์ควบคุมจึงมีความจำเป็นอย่างสูงที่จะลดผลกระทบจากการใช้งานที่ผิดปกติ เพราะจุดป้องกันที่เหมาะสมจะทำให้เกิดความเสียหายไม่มากหรือน้อย ดังนั้นจุดตัดไม่ว่าจะเป็นกระแสเกินพิกัดของมอเตอร์ อาจจะเป็นอุณหภูมิของมอเตอร์ หรือจะเป็น Unbalance Voltage ของมอเตอร์ จึงเป็นจุดที่ผู้ควบคุมมอเตอร์ควรให้ความสนใจ ซึ่งการตั้งค่ายังมีคำว่าความเหมาะสมเป็นตัวประกอบ นั่นก็หมายความว่าแต่ละเครื่องจักรมีความเหมาะสมที่ไม่เหมือนกันตามการประยุกต์ใช้งาน
สรุปรวมว่าอายุของมอเตอร์ถ้าใช้งานปกติควรมีอายุเกิน 10 ปีขึ้นไป ส่วนถ้าการใช้งานแล้วมีอายุสั้นกว่า ต้องดูที่จุดประสงค์ของผู้ออกแบบที่ทำให้มอเตอร์บางตัวอายุสั้นลง เช่น ความต้องการลดต้นทุน ความจำเป็นทางด้านความสะดวกที่จะใช้งานในช่วงเวลาสั้นๆ แล้วน้ำหนักเบาเพื่อรูปร่างที่สวยงาม หรืออะไรก็แล้วแต่ ทุกอย่างก็เป็นเหตุผลของการออกแบบไม่สามารถชี้ชัดลงไปว่าออกแบบผิดหรือถูก ซึ่งผู้ที่จะสามารถสรุปได้ว่าการออกแบบให้อายุใช้งานได้เท่านั้นเท่านี้ควรจะเป็นผู้ผลิตและผู้ใช้

วันจันทร์ที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2552

มอเตอร์ไฟฟ้า

>>มอเตอร์ไฟฟ้า<<มอเตอร์ไฟฟ้าอุตสาหกรรมต่างๆ อาทิเช่น มอเตอร์ไฟฟ้า 2 สาย ไฟ 220 โวลท์, มอเตอร์ไฟฟ้า 3 สาย ไฟ 380 โวลท์, คอมแพ็กเอซีมอเตอร์, เซอร์โวมอเตอร์, คูลลิ่งมอเตอร์, มอเตอร์ห้องเย็น, ดีซีมอเตอร์ หรือ มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
มอเตอร์ไฟฟ้า

วันจันทร์ที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2552

พริกขี้หนู

ลักษณะทั่วไป: พริกเป็นพืชที่มีอายุได้หลายฤดู ลำต้นตั้งตรง สูงประมาณ 1-1.25 ฟุต ใบแบนเรียบเป็นมัน ดอกเป็นดอกเดี่ยวขนาดเล็ก กลีบดอกจะมีสีขาว หรือสีม่วง เกสรตัวผู้ 1-10 อัน เกสรตัวเมีย 1-2 อัน ผลหลายขนาด ผลขนาดเล็กยาวประมาณ 1-1.5 นิ้ว ลูกอ่อนสีเขียวเข้ม เมื่อ
ลักษณะทั่วไป: พริกเป็นพืชที่มีอายุได้หลายฤดู ลำต้นตั้งตรง สูงประมาณ 1-1.25 ฟุต ใบแบนเรียบเป็นมัน ดอกเป็นดอกเดี่ยวขนาดเล็ก กลีบดอกจะมีสีขาว หรือสีม่วง เกสรตัวผู้ 1-10 อัน เกสรตัวเมีย 1-2 อัน ผลหลายขนาด ผลขนาดเล็กยาวประมาณ 1-1.5 นิ้ว ลูกอ่อนสีเขียวเข้ม เมื่อแก่เป็นสีแดง การปลูกพริกชอบดินร่วนซุย และอากาศร้อน
การขยายพันธุ์: โดยการเพาะเมล็ด
ประโยชน์: ยอดอ่อนรับประทาน โดยลวกเป็นผักแกล้มน้ำพริก หรือนำไปปรุงอาหารประเภทแกงจืด แกงเลียง มีสรรพคุณทางยาขับลม ขับปัสสาวะ

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
พริกเป็นพืชที่อยู่ในตระกูลโซลานาซีอี (Solanaceae) ซึ่งอยู่ในตระกูลเดียวกันกับมะเขือ มันฝรั่ง และยาสูบพืชในตระกูลนี้มีอยู่ประมาณ 90 สกุล (Genus)
หรือ 2,000 ชนิด (Species) โดยทั่วไปเป็นได้ทั้งพืชล้มลุก ไม้พุ่ม และไม้ยืนต้นขนาดเล็กซึ่งกระจายอยู่ทั่วไปของโลก สำหรับพริกจัดอยู่ในสกุล Capsicum
ซึ่งประกอบด้วยพืชชนิดต่างๆประมาณ 20-30 ชนิด สำหรับลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์ศาสตร์ของพริกมีดังนี้
ราก ระบบรากของพริกมีรากแก้ว รากหากินลึกมาก ต้นพริกที่โตเต็มที่รากฝอยจะแออกไปหากินด้านข้างในรัศมีเกินกว่า1 เมตร และหยั่งลึกลงไปในดินเกินกว่า 1.20 เมตร
รากฝอยหากินของพริกจะพบอยู่อย่างหนาแน่นมากในบริเวณรอบๆ ต้นใต้ผิวดินลึกประมาณ 60 เซนติเมตร
ลำต้นและกิ่ง ลำต้นพริกตั้งตรง สูงประมาณ 1-2.5 ฟุต พริกเป็นพืชที่มีการเจริญของกิ่งเป็นแบบ dichotomous คือกิ่งจะเจริญจากลำต้นเพียง 1 กิ่ง แล้วแตกออก
เป็น 2 กิ่ง และเพิ่มเป็น 4 กิ่ง 8 กิ่ง 16 กิ่ง ไปเรื่อยๆ และมักพบว่าต้นพริกที่สมบูรณ์จะมีกิ่งแตกขึ้นมาจากต้นที่ระดับดินหลายกิ่ง จนดูคล้ายกับว่ามีหลายต้นอยู่รวมที่เดียวกัน
ดังนั้นจึงมักไม่พบลำต้นหลักแต่จะพบเพียงกิ่งหลักๆเท่านั้น ทั้งลำต้นและกิ่งนั้นในระยะแรกจะเป็นไม้เนื้ออ่อนแต่เมื่อมีอายุมากขึ้นกิ่งก็จะยิ่งแข็งมาก แต่กิ่งหรือต้นพริกก็ยัง
คงเปราะและหักง่าย
ใบ พริกเป็นใบเลี้ยงคู่ ใบเป็นใบเดี่ยว มีลักษณะแบนราบเป็นมัน มีขนบ้างเล็กน้อย ใบมีรูปร่างตั้งแต่รูปไข่ไปจนกระทั่งเรียวยาว มีขนาดแตกต่างกันออกไป ใบพริกหวาน
มีขนาดค่อนข้างใหญ่ ใบพริกขี้หนูทั่วไปมีขนาดเล็ก แต่ในระยะเป็นต้นกล้าและใบล่างๆ ของต้นโตเต็มที่จะมีขนาดค่อนข้างใหญ่
ดอก ลักษณะของดอกพริกเป็นดอกสมบูรณ์เพศ คือมีเกสรตัวผู้และเกสรตัวเมียอยู่ภายในดอกเดียวกัน โดยปกติมักพบเป็นดอกเดี่ยว แต่อาจจะพบหลายดอกเกิดตรงจุด
เดียวกันได้ ดอกเกิดที่ข้อตรงมุมที่เกิดใบหรือกิ่งก้านดอกอาจตรงหรือโค้ง ส่วนประกอบของดอกประกอบด้วยกลีบรองดอก 5 พู กลีบดอกสีขาว 5 กลีบ แต่บางพันธุ์อาจมี
สีม่วงและอาจมีกลีบตั้งแต่ 4-7 กลีบ มีเกสรตัวผู้ 5 อัน ซึ่งแตกจากตรงโคนของชั้นกลีบดอก อับเกสรตัวผู้มีสีน้ำเงินแยกตัวเป็นกระเปาะเล็กๆ ยาวๆ เกสรตัวเมียชูสูงขึ้นไป
เหนือเกสรตัวผู้ ปลายเกสรตัวเมียมีรูปร่างเหมือนเหมือนกระบองหัวมน รังไข่มี 3 พู แต่อาจพบได้ตั้งแต่ อาจพบได้ตั้งแต่ 2-4 พู และจากการศึกษาพบว่า พริกเป็นพืชที่
ตอบสนองต่อช่วงกลางวัน โดยมักจะออกดอกและติดผลในสภาพวันสั้น ในระหว่างการเจริญเติบโดหากได้รับวันยาวหรือมีการใช้แสงไฟฟ้าในเวลากลางคืนเพื่อเพิ่ม
ความยาวของช่วงแสง พริกจะออกดอกช้าออกไป
ผล มีทั้งผลเดี่ยวและผลกลุ่ม ผลพริกเป็นประเภท berry ที่มีลักษณะเป็นกระเปาะมีฐานขั้วผลสั้นและหนา โดยปกติผลอ่อนมักชี้ขึ้น เมื่อผลแก่พันธุ์ที่มีลักษณะขั้วผลอ่อน
ให้ผลห้อยลง แต่บางพันธุ์ทั้งผลอ่อนและผลแก่จะชี้ขึ้น ผลมีลักษณะทั้งแบนๆ กลมยาว จนถึงพองอ้วนสั้น ขนาดของผล มีตั้งแต่ขนาดผลเล็กๆ ไปจนกระทั่งมีผลขนาดใหญ่
ผนังผลมีตั้งแต่บางจนถึงหนาขึ้นอยู่กับพันธุ์ ผลอ่อนมีทั้งสีเหลืองอ่อน สีเขียวอ่อน สีเขียวเข็ม และสีม่วง เมื่อผลสุก อาจเปลี่ยนเป็นสีแดง ส้มเหลือง น้ำตาล ขาวนวลหรือ
สีม่วง เมื่อผลสุก อาจเปลี่ยนเป็นสีแดง ส้ม เหลือง น้ำตาล ขาวนวล หรือสีม่วงพร้อมๆกัน กับการแก่ของเมล็ดในผลควบคู่กันไป บางพันธุ์เผ็ดจัด บางพันธุ์ไม่เผ็ดเลยหรือ
เผ็ดน้อย ฐานของผลอาจแบ่งออกเป็น 2-4 ห้อง ซึ่งจะเห็นได้ชัดในพริกหวาน แต่พริกที่มีขนาดผลเล็กอาจสังเกตได้ยาก บางพันธุ์อาจดูเหมือนว่าภายในผลมีเพียงห้องเดียว โดยตลอดเนื่องจาก septae ไม่เจริญยาวตลอดถึงปลายผล เมล็ดจะเกิดเกาะรวมกันอยู่ที่รก (Placenta) ซึ่งมีตั้งแต่โคนจนถึงปลายผล ในระหว่างการเจริญเติบโตของผล
หากอุณหภูมิในเวลากลางวันสูงและความชื้นในบรรยากาศต่ำ จะทำให้ผลพริกมีการเจริญเติบโตผิดปกติ มีรูปร่างบิดเบี้ยวและมีขนาดเล็ก นอกจากนี้ยังทำให้การติดเมล็ด
ต่ำกว่าปกติอีกด้วย
เมล็ด เมล็ดพริกขี้หนูมีขนาดค่อนข้างใหญ่กว่าเมล็ดมะเขือเทศแต่มีรูปร่างคล้ายๆกันคือ มีรูปร่างกลมแบน มีสีเหลืองไปจนถึงสีน้ำตาล ผิวเรียบ ผิวไม่ต่อยมีขนเหมือน
เมล็ดมะเขือเทศ มีร่องลึกอยู่ทางด้านหนึ่งของเมล็ด เมล็ดจะติดอยู่กับรกโดยเฉพาะทางด้านฐานของผลพริกเมล็ดจะติดอยู่มากกว่าปลายผล ส่วนมากที่เปลือกของผล และ
เปลือกของเมล็ดมักมีเชื้อโรคพวกโรคใบจุด และโรคใบเหี่ยวติดมา สำหรับจำนวนเมล็ดต่อผลพริก 1 ผล จะไม่แน่นอน แต่ตามมาตรฐานของขนาดเมล็ดพริกแล้ว เมล็ด
พริกหวาน 1 กรัม ควรที่จะมีเมล็ด 166 เมล็ดขึ้นไป ส่วนพริกเผ็ดที่มีขนาดผลเล็กควรมีขนาดเมล็ดเล็กลง เช่น เมล็ดพริกพันธุ์ห้วยสีทน 1 น้ำหนัก 1 กรัม มีจำนวนเมล็ดถึง
256 เมล็ด เมล็ดพริกมีชีวิตอยู่ได้นานประมาณ 2-4 ปีแก่เป็นสีแดง การปลูกพริกชอบดินร่วนซุย และอากาศร้อน
การขยายพันธุ์: โดยการเพาะเมล็ด
ประโยชน์: ยอดอ่อนรับประทาน โดยลวกเป็นผักแกล้มน้ำพริก หรือนำไปปรุงอาหารประเภทแกงจืด แกงเลียง มีสรรพคุณทางยาขับลม ขับปัสสาวะ

ลักษณะทางพฤกษศาสตร์
พริกเป็นพืชที่อยู่ในตระกูลโซลานาซีอี (Solanaceae) ซึ่งอยู่ในตระกูลเดียวกันกับมะเขือ มันฝรั่ง และยาสูบพืชในตระกูลนี้มีอยู่ประมาณ 90 สกุล (Genus)
หรือ 2,000 ชนิด (Species) โดยทั่วไปเป็นได้ทั้งพืชล้มลุก ไม้พุ่ม และไม้ยืนต้นขนาดเล็กซึ่งกระจายอยู่ทั่วไปของโลก สำหรับพริกจัดอยู่ในสกุล Capsicum
ซึ่งประกอบด้วยพืชชนิดต่างๆประมาณ 20-30 ชนิด สำหรับลักษณะทั่วไปทางพฤกษศาสตร์ศาสตร์ของพริกมีดังนี้
ราก ระบบรากของพริกมีรากแก้ว รากหากินลึกมาก ต้นพริกที่โตเต็มที่รากฝอยจะแออกไปหากินด้านข้างในรัศมีเกินกว่า1 เมตร และหยั่งลึกลงไปในดินเกินกว่า 1.20 เมตร
รากฝอยหากินของพริกจะพบอยู่อย่างหนาแน่นมากในบริเวณรอบๆ ต้นใต้ผิวดินลึกประมาณ 60 เซนติเมตร
ลำต้นและกิ่ง ลำต้นพริกตั้งตรง สูงประมาณ 1-2.5 ฟุต พริกเป็นพืชที่มีการเจริญของกิ่งเป็นแบบ dichotomous คือกิ่งจะเจริญจากลำต้นเพียง 1 กิ่ง แล้วแตกออก
เป็น 2 กิ่ง และเพิ่มเป็น 4 กิ่ง 8 กิ่ง 16 กิ่ง ไปเรื่อยๆ และมักพบว่าต้นพริกที่สมบูรณ์จะมีกิ่งแตกขึ้นมาจากต้นที่ระดับดินหลายกิ่ง จนดูคล้ายกับว่ามีหลายต้นอยู่รวมที่เดียวกัน
ดังนั้นจึงมักไม่พบลำต้นหลักแต่จะพบเพียงกิ่งหลักๆเท่านั้น ทั้งลำต้นและกิ่งนั้นในระยะแรกจะเป็นไม้เนื้ออ่อนแต่เมื่อมีอายุมากขึ้นกิ่งก็จะยิ่งแข็งมาก แต่กิ่งหรือต้นพริกก็ยัง
คงเปราะและหักง่าย
ใบ พริกเป็นใบเลี้ยงคู่ ใบเป็นใบเดี่ยว มีลักษณะแบนราบเป็นมัน มีขนบ้างเล็กน้อย ใบมีรูปร่างตั้งแต่รูปไข่ไปจนกระทั่งเรียวยาว มีขนาดแตกต่างกันออกไป ใบพริกหวาน
มีขนาดค่อนข้างใหญ่ ใบพริกขี้หนูทั่วไปมีขนาดเล็ก แต่ในระยะเป็นต้นกล้าและใบล่างๆ ของต้นโตเต็มที่จะมีขนาดค่อนข้างใหญ่
ดอก ลักษณะของดอกพริกเป็นดอกสมบูรณ์เพศ คือมีเกสรตัวผู้และเกสรตัวเมียอยู่ภายในดอกเดียวกัน โดยปกติมักพบเป็นดอกเดี่ยว แต่อาจจะพบหลายดอกเกิดตรงจุด
เดียวกันได้ ดอกเกิดที่ข้อตรงมุมที่เกิดใบหรือกิ่งก้านดอกอาจตรงหรือโค้ง ส่วนประกอบของดอกประกอบด้วยกลีบรองดอก 5 พู กลีบดอกสีขาว 5 กลีบ แต่บางพันธุ์อาจมี
สีม่วงและอาจมีกลีบตั้งแต่ 4-7 กลีบ มีเกสรตัวผู้ 5 อัน ซึ่งแตกจากตรงโคนของชั้นกลีบดอก อับเกสรตัวผู้มีสีน้ำเงินแยกตัวเป็นกระเปาะเล็กๆ ยาวๆ เกสรตัวเมียชูสูงขึ้นไป
เหนือเกสรตัวผู้ ปลายเกสรตัวเมียมีรูปร่างเหมือนเหมือนกระบองหัวมน รังไข่มี 3 พู แต่อาจพบได้ตั้งแต่ อาจพบได้ตั้งแต่ 2-4 พู และจากการศึกษาพบว่า พริกเป็นพืชที่
ตอบสนองต่อช่วงกลางวัน โดยมักจะออกดอกและติดผลในสภาพวันสั้น ในระหว่างการเจริญเติบโดหากได้รับวันยาวหรือมีการใช้แสงไฟฟ้าในเวลากลางคืนเพื่อเพิ่ม
ความยาวของช่วงแสง พริกจะออกดอกช้าออกไป
ผล มีทั้งผลเดี่ยวและผลกลุ่ม ผลพริกเป็นประเภท berry ที่มีลักษณะเป็นกระเปาะมีฐานขั้วผลสั้นและหนา โดยปกติผลอ่อนมักชี้ขึ้น เมื่อผลแก่พันธุ์ที่มีลักษณะขั้วผลอ่อน
ให้ผลห้อยลง แต่บางพันธุ์ทั้งผลอ่อนและผลแก่จะชี้ขึ้น ผลมีลักษณะทั้งแบนๆ กลมยาว จนถึงพองอ้วนสั้น ขนาดของผล มีตั้งแต่ขนาดผลเล็กๆ ไปจนกระทั่งมีผลขนาดใหญ่
ผนังผลมีตั้งแต่บางจนถึงหนาขึ้นอยู่กับพันธุ์ ผลอ่อนมีทั้งสีเหลืองอ่อน สีเขียวอ่อน สีเขียวเข็ม และสีม่วง เมื่อผลสุก อาจเปลี่ยนเป็นสีแดง ส้มเหลือง น้ำตาล ขาวนวลหรือ
สีม่วง เมื่อผลสุก อาจเปลี่ยนเป็นสีแดง ส้ม เหลือง น้ำตาล ขาวนวล หรือสีม่วงพร้อมๆกัน กับการแก่ของเมล็ดในผลควบคู่กันไป บางพันธุ์เผ็ดจัด บางพันธุ์ไม่เผ็ดเลยหรือ
เผ็ดน้อย ฐานของผลอาจแบ่งออกเป็น 2-4 ห้อง ซึ่งจะเห็นได้ชัดในพริกหวาน แต่พริกที่มีขนาดผลเล็กอาจสังเกตได้ยาก บางพันธุ์อาจดูเหมือนว่าภายในผลมีเพียงห้องเดียว โดยตลอดเนื่องจาก septae ไม่เจริญยาวตลอดถึงปลายผล เมล็ดจะเกิดเกาะรวมกันอยู่ที่รก (Placenta) ซึ่งมีตั้งแต่โคนจนถึงปลายผล ในระหว่างการเจริญเติบโตของผล
หากอุณหภูมิในเวลากลางวันสูงและความชื้นในบรรยากาศต่ำ จะทำให้ผลพริกมีการเจริญเติบโตผิดปกติ มีรูปร่างบิดเบี้ยวและมีขนาดเล็ก นอกจากนี้ยังทำให้การติดเมล็ด
ต่ำกว่าปกติอีกด้วย
เมล็ด เมล็ดพริกขี้หนูมีขนาดค่อนข้างใหญ่กว่าเมล็ดมะเขือเทศแต่มีรูปร่างคล้ายๆกันคือ มีรูปร่างกลมแบน มีสีเหลืองไปจนถึงสีน้ำตาล ผิวเรียบ ผิวไม่ต่อยมีขนเหมือน
เมล็ดมะเขือเทศ มีร่องลึกอยู่ทางด้านหนึ่งของเมล็ด เมล็ดจะติดอยู่กับรกโดยเฉพาะทางด้านฐานของผลพริกเมล็ดจะติดอยู่มากกว่าปลายผล ส่วนมากที่เปลือกของผล และ
เปลือกของเมล็ดมักมีเชื้อโรคพวกโรคใบจุด และโรคใบเหี่ยวติดมา สำหรับจำนวนเมล็ดต่อผลพริก 1 ผล จะไม่แน่นอน แต่ตามมาตรฐานของขนาดเมล็ดพริกแล้ว เมล็ด
พริกหวาน 1 กรัม ควรที่จะมีเมล็ด 166 เมล็ดขึ้นไป ส่วนพริกเผ็ดที่มีขนาดผลเล็กควรมีขนาดเมล็ดเล็กลง เช่น เมล็ดพริกพันธุ์ห้วยสีทน 1 น้ำหนัก 1 กรัม มีจำนวนเมล็ดถึง
256 เมล็ด เมล็ดพริกมีชีวิตอยู่ได้นานประมาณ 2-4 ปี

วันจันทร์ที่ 22 มิถุนายน พ.ศ. 2552

หม้อปแลงไฟฟ้า

หม้อแปลงไฟฟ้า เครื่องสูบน้ำเสีย เป็นครุภัณฑ์หรือไม่ และเวลาคิดราคาจะคูณด้วย Factor F, หรือ
คูณแค่ vat 7% แล้วจะแยกอุปกรณ์ในงานก่อสร้างอย่างไรให้ชัดเจนว่าเป็น เป็นครุภัณฑ์หรือไม่ (#463)
ตอบ :

หม้อแปลงไฟฟ้าและเครื่องสูบน้ำเสียเป็นครุภัณฑ์ การคิดราคาจะไม่นำมาคำนวณ Factor F แต่สามารถคิด VAT7% ก่อนได้ โดยจะไม่คิดซ้ำซ้อนกับราคาร้านค้าที่คิด VAT แล้ว การแยกอุปกรณ์ในงานก่อสร้างที่เป็นครุภัณฑ์ หรือก่อสร้าง ให้ดูที่ครุภัณฑ์ Build in หรือไม่ ถ้าเป็น Build in จะต้องสร้างพร้อมกับการก่อสร้าง เช่น ตู้ติดผนัง เป็นต้น ถือว่าเป็นการก่อสร้าง สามารถนำมาคิด Factor F ได้ ส่วนครุภัณฑ์ที่เคลื่อนย้ายได้ เช่น โต๊ะ เก้าอี้ ไม่ใช่ Build in ไม่ต้องคำนวณ Factor F
อย่างไรก็ตามหากต้องการสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมใด ๆ สามารถสอบถามโดยตรงที่ สำนักมาตรฐานต้นทุน
งบประมาณ โทร. 0 2273 9027-8 ต่อ 1556

มอร์เตอร์เหนี่ยงนำ

ฟมอเตอร์เหนี่ยวนำไฟฟ้าเฟสเดียวที่กำหนด จะต้องมีค่าประสิทธิภาพ (efficiency) ที่ภาระเต็มพิกัด (full load) มากกว่าหรือเท่ากับค่าที่กำหนดในตารางดังต่อไปนี้

ขนาดกำลังออกที่กำหนดของมอเตอร์
(กิโลวัตต์)

ประสิทธิภาพ
(%)
ขนาดไม่เกิน ๐.๑๘๖
ขนาดเกินกว่า ๐.๑๘๖ ถึง ๐.๕๕ กิโลวัตต์
ขนาดเกินกว่า ๐.๕๕ ถึง ๑.๕ กิโลวัตต์
ขนาดเกินกว่า ๑.๕ ถึง ๓.๗ กิโลวัตต์

๖๓
๖๘
๗๘
๘๕







มาตรฐานวิธีการทดสอบมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับ

มาตรฐานวิธีการทดสอบหาค่าประสิทธิภาพ (Efficiency) มอเตอร์ไฟฟ้ากระแสสลับในร่างกฎกระทรวง อ้างอิงตามมาตรฐานดังนี้

มอเตอร์เหนี่ยวนำสามเฟส
IEEE 112 – 1996: IEEE Standard Test Procedure for polyphase Induction Motors and Generators (Method B) มีรายละเอียดดังนี้

เครื่องมือที่ใช้ในการทดสอบ
1. AC Power Source
2. Power Analyzer
3. Dynamometer test set
4. Automatic LCR Meter
5. Digital Thermometer

หมายเหตุ ความคลาดเคลื่อนที่ยอมรับได้ของเครื่องมือให้เป็นไปตาม IEEE 112 หัวข้อที่ 4

สถานที่ทดสอบ
ควบคุมอุณหภูมิโดยรอบ (Ambient Temperature) ให้ได้ 25±2 OC

วิธีการทดสอบ
1. การทดสอบ Rated load temperature test
ติดตั้ง Thermocouples หรืออุปกรณ์วัดอุณหภูมิที่ ขดลวดมอเตอร์ วัดและบันทึกค่าความต้านทานของขดลวด Stator (line to line) และอุณหภูมิของขดลวด Stator

ป้อนแรงดันไฟฟ้าที่มีแรงดันและความถี่ตามพิกัดของมอเตอร์ ใส่โหลดตามพิกัดให้กับมอเตอร์ให้มอเตอร์ทำงานจนถึงจุดสมดุลย์ความร้อน คือ อุณหภูมิที่ขดลวด Stator มีค่าคงที่ในระหว่างการทดสอบให้อ่านและบันทึกค่าอุณหภูมิของขดลวดทุกๆ ½ ชม. อุณหภูมิของขดลวด Stator ถือว่าคงที่ เมื่ออุณหภูมิที่อ่านได้ 2 ค่า แตกต่างกันไม่เกิน 1 OC

ปลดวงจรแหล่งจ่ายไฟออกจากมอเตอร์ และภายในช่วงระยะเวลาที่กำหนด (30 วินาทีสำหรับมอเตอร์ขนาดไม่เกิน 50 hp) ให้ทำการวัด และบันทึก ค่าความต้านทานของขดลวด Stator (line to line) อุณหภูมิขดลวด Stator และอุณหภูมิโดยรอบของมอเตอร์ ถ้าไม่สามารถวัด ค่าความต้านทานของขดลวดได้ทันตามระยเวลาที่กำหนดไว้ หลังปลดแหล่งจากไฟออกแล้ว จะต้องรีบดำเนินการให้เร็วที่สุดเท่าที่จะทำได้ และให้บันทึกค่าทุกๆ 30 วินาที อย่างน้อย 10 ค่า นำค่าที่บันทึกไว้ไป Plot Curve และหาค่าความต้านทาน ณ เวลาที่ากำหนด

2. การทดสอบ Load Test
ป้อนแรงดันไฟฟ้าที่มีแรงดันและความถี่ตามพิกัดมอเตอร์ ใส่โหลดให้กับมอเตอร์ที่ 150%, 125%, 100%, 75%, 50% และ 25% ของพิกัดมอเตอร์ แต่ละจุดที่โหลดมอเตอร์ ให้วัดและบันทึกค่าต่อไปนี้
q อุณหภูมิโดยรอบของมอเตอร์
q อุณหภูมิของขดลวด Stator
q ความถี่ของกระแสไฟฟ้า
q ความเร็วรอบของมอเตอร์
q แรงดันไฟฟ้าที่ขั้วของมอเตอร์
q กระแสเฉลี่ยของมอเตอร์
q กำลังไฟฟ้าที่จ่ายให้มอเตอร์
q แรงบิดของมอเตอร์

หมายเหตุ การทดสอบควรทำด้วยความรวดเร็วเท่าที่ทำได้ เพื่อให้อุณหภูมิของขดลวดเปลี่ยนแปลงน้อยที่สุด ในระหว่างการทดสอบอุณหภูมิของขดลวด Stator จะต้องอยู่ในช่วง 10 OC ของอุณหภูมิสูงสุดที่อ่านได้ขณะทำการทดสอบ Rated load temperature test

3. การทดสอบหาค่า Dynamometer Torque Correction
ป้อนแรงดันไฟฟ้าที่มีความถี่และแรงดันตามพิกัดให้กับมอเตอร์ ให้มอเตอร์ทำงานแบบไม่มีโหลด โดยที่เพลาของมอเตอร์ยังต่ออยู่กับไดนาโมมิเตอร์ จนกระทั่งค่ากำลังไฟฟ้าที่จ่ายให้มอเตอร์คงที่ (ค่ากำลังไฟฟ้าขณะไม่มีโหลดของมอเตอร์ถือว่าคงที่เมื่อค่ากำลังไฟฟ้าที่อ่านได้ในช่วงเลา ½ ชม. เปลี่ยนแปลงไม่เกิน 3%) ให้วัดและบันทึกค่าต่อไปนี้
q กำลังไฟฟ้าที่จ่ายให้มอเตอร์
q กระแสเฉลี่ยของมอเตอร์
q ความเร็วรอบของมอเตอร์
q แรงบิดของมอเตอร์
q ความต้านทานเฉลี่ยของขดลวด Stator
ปลด Coupling ออกจากมอเตอร์ และให้มอเตอร์เดินตัวเปล่าที่แรงดัน และความถี่พิกัด จนกระทั่งค่ากำลังไฟฟ้าที่จ่ายให้มอเตอร์คงที่ ให้วัดและบันทึกค่าต่อไปนี้
q กำลังไฟฟ้าที่จ่ายให้มอเตอร์
q กระแสเฉลี่ยของมอเตอร์
q ความต้านทานเฉลี่ยของขดลวด Stator

4. การทดสอบ No-load Test
ปลดโหลดมอเตอร์และให้มอเตอร์เดินตัวเปล่าที่แรงดัน และความถี่พิกัด จนกระทั่งค่ากำลังไฟฟ้าที่จ่ายให้มอเตอร์ และอุณหภูมิของขดลวด Stator คงที่ (ค่ากำลังไฟฟ้าขณะไม่มีโหลดของมอเตอร์ถือว่าคงที่เมื่อค่ากำลังไฟฟ้าที่อ่านได้ในช่วงเวลา ½ ชม. เปลี่ยนแปลงไม่เกิน 3%) ป้อนแรงดันไฟฟ้าที่มีความถี่ตามพิกัดของมอเตอร์ที่ 125%, 100%, 75%, 60%, 50%, 35%, 20% ของแรงดันตามพิกัดหรือถึงจุดที่กระแสมอเตอร์มีค่าต่ำสุดและเริ่มไม่เสถียรภาพ แต่ละจุดของแรงดันให้วัดและบันทึกค่าต่อไปนี้
q ค่าเฉลี่ยของแรงดันไฟฟ้าที่จ่ายให้มอเตอร์
q กระแสไฟฟ้าเฉลี่ยของมอเตอร์
q กำลังไฟฟ้าไม่มีโหลดของมอเตอร์
q อุณหภูมินของขดลวด Stator
q อุณหภูมิโดยรอบของมอเตอร์
ข้อมูลที่ต้องบันทึก
Form B- Method B



วิธีคำนวณ
จากผลการทดสอบที่ได้ นำมาคำนวณเพื่อบันทึกข้อมูลใน Form B- Method B

(1) Average Cold Stator Winding Resistance Between Terminal in Ohms = จากการวัด
(2) Stator Winding Temperature before running the motor in OC = จากการวัด
(3) Rated Load Heat Run Stator Winding Resistance Between Terminal in Ohms = จากการวัด
(4) Stator Winding Temperature after Rated Load Heat Run in OC = จากการวัด
(5) Ambient Temperature in OC = จากการวัด
(6) Ambient Temperature in OC = จากการวัด
(7) Stator Winding Temperature (tt) in OC = จากการวัด
(8) Frequency in Hz = จากการวัด
(9) Synchronous Speed in r/m = 120x(8)/number of poles
(10)Slip Speed in r/m = (9)-(11) when speed is measured
(11)Speed in r/m = จากการวัด
(12)Line to line Voltage in V = จากการวัด
(13)Line Current in A = จากการวัด
(14) Stator Power in W = จากการวัด
(15)Core loss in W = จากการ Plot Curve A ตามรูป

(16)Stator I2R Loss in W at (tt) OC = 1.5x(13)2x(1)x[k1+(7)]/[k1+(2)]
เมื่อ k1 = 234.5 for 100% IACS conductivity copper
(17) Power Across Air Gap, in W = (14)-(15)-(16)
(18)Rotor I2R Loss, in W = [(17)x(10)]/(9)
(19)Friction and Windage Loss, in W = จากการ Plot Curve A ตามรูป
(20)Total Conventional Loss in W = (15)+(16)+(18)+(19)
(21)Torque = จากการวัด
(22)Dynamometer Correction =
เมื่อ WA = (P1-W1-Wh)x(1-s1)
WB = P0-W0-Wh
P1 = Input power (W) required to drive motor when coupled to
dynamometer with dynamometer armature circuit open (Test “A”)
W1 = stator I2R loss (W) during Test “A”
s1 = slip, in pu, during Test “A”
P0 = Input power (W) required to drive machine as a motor running
Free and uncoupled Test “B”
W0 = stator I2R loss (W) during Test “B”
Wh = core loss (W)
C = torque output registered by dynamometer during Test “A”
k = 9.549 for torque (N-m)
n = rotational speed (r/min) during Test “A”
(23)Corrected Torque in Nm = (21)+(22)
(24)Shaft Power in W = [(23)x(11)]/594.9
(25)Apparent Total Loss in W = (14)-(24)
(26)Stray-Load Loss in W = (25)-(20)
(27)Stator I2R Loss in W, at (ts) OC = 1.5x(13)2x(3)x[k1+(4)-(5)+25 OC]/[k1+(4)]
(28)Corrected Power Across Air Gap in W = [(29)/(9)]x[(14)-(27)-(15])




(29)Corrected Slip in r/m = St x (ts+k)/(tt+k)
เมื่อ St = Slip measured at stator winding temperature tt
ts = Specified temperature for resistance correction in OC
tt = Observed stator winding temperature during test OC
k = 234.5 for 100%Loss conductivity copper
(30)Corrected speed in r/m = Synchronous speed –(29)
(31)Rotor I2R Loss in W, at (ts) OC = (28)x(29)/(9)
(32)Corrected Stray-Load Loss, in W = AT2
เมื่อ A = slope ของ Curve (26) vs (23)2
T = Corrected torque = (23)
(33)Corrected Total Loss , in W = (15)+(19)+(27)+(31)+(32)
(34)Corrected Shaft Power, in W = (14)-(33)
(35)Shaft Power, in hp = (34)/745.7
(36)Efficiency, in % = 100x(34)/(14)
(37)Power Factor, in % = [(14)x100]/[Ö3x(12)x(13)]
โมดูลจำลองการแยกสีชิ้นงานควบคุมโดยพีแอลซี
นายธงชัย ภักดีโสภา
นายนฤพล ศรีบูรธรรม
นายเศรษฐวัฒน์ เพื่อมกระโทก

โปรแกรมวิชาอิเล็กทรอนิกส์ คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎจันทรเกษม

บทคัดย่อ
ปริญญานิพนธ์ฉบับนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลองเรื่องโมดูลจำลองการแยกสีชิ้นงานควบคุมโดยพีแอลซี ซึ่งได้กล่าวถึงการประยุกต์ใช้งานอุปกรณ์ทางด้านไฟฟ้าและอิเล็กทรอนิกส์ มาช่วยในการตรวจจับและคัดแยกสีของวัตถุ ทดแทนการคัดแยกโดยสายตาของคนที่มีข้อจำกัดในการแบ่งแยกสีที่มีความหลากหลายเฉดสี สำหรับโมดูลจัดทำขึ้นนี้จะสามารถตรวจจับและทำการคัดแยกชนิดของวัตถุโดยใช้ค่าความแตกต่างของสีโดยใช้อุปกรณ์ตัวตรวจจับสี ซึ่งสามารถทำการดัดแยกชนิดสีได้จำนวน 3 สี คือ สีเขียว สีน้ำเงิน และสีแดง นอกเหนือจากสีที่ไม่ได้กำหนดจะไม่สามารถตรวจสอบได้แต่จะคัดแยกออกต่างหาก สำหรับการคัดแยกจะถูกควบคุมโดยอัตโนมัติโดยพีแอลซี ซึ่งเป็นอุปกรณ์ที่มีประสิทธิภาพสูงสำหรับงานควบคุมเครื่องจักร ผลที่ได้จากการทดสอบการคัดแยกสีของโมดูลสามารถคัดแยกวัตถุสีที่กำหนดได้ถูกต้อง 100 เปอร์เซ็นต์ ยกเว้นสีเขียวจะถูกต้อง 93.33 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งสาเหตุเกิดจากแสงรบกวนจากภายนอก

1. บทนำ
*** เนื่องจากในปัจจุบันการผลิตสินค้าต่างๆ นิยมจะตกแต่งสินค้าให้มีความสวยงาม และเพิ่มมูลค่าของสินค้า โดยการตกแต่งสินค้าด้วยสีสันต่างๆ ลงบนตัวสินค้า เพื่อเป็นสิ่งจูงใจให้ลูกค้าเกิดความสนใจมากขึ้น ด้วยเหตุนี้ทำให้ตัวสินค้ามีสีสันที่หลากหลายหรือมีหลายเฉดสีมากขึ้น การที่จะผลิตหรือคัดแยกสินค้าที่มีหลากหลายเฉดสีด้วยคนทั่วไปนั้น เป็นสิ่งที่ทำได้ยากมาก เนื่องจากสายตาของคนทั่วไป มีข้อจำกัดในการแบ่งแยกและไม่มีมาตรฐานที่ถูกต้องแน่นอน อย่างเช่นถ้าหากให้คนจำนวน 10 คน บอกชนิดของเฉดสีต่างๆ ที่มีความใกล้เคียงกัน คำตอบที่ได้นั้นอาจมีหลายคำตอบไม่ตรงกัน ตามความคิดของแต่ละคน อีกทั้งบางคนที่จ้องมองสีเป็นเวลานานๆ และบ่อยๆ อาจทำให้เกิดอันตรายต่อสายตาได้เช่นกัน ดังนั้นเพื่อแก้ปัญหาดังที่กล่าว จึงได้จัดทำชุดโมดูลสำหรับคัดแยกชนิดของสีขึ้นมา โดยการใช้อุปกรณ์ทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถตรวจจับสีได้โดยเฉพาะ ซึ่งจะทำให้สามารถคัดแยกสีได้อย่างละเอียดและถูกต้องตามคุณสมบัติของค่าสี นอกจากนี้ยังได้ทำการออกแบบให้อุปกรณ์ตรวจจับสีทำงานร่วมกันได้กับอุปกรณ์ควบคุมที่มีความสามารถอย่างพีแอลซี ซึ่งเป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดีในงานควบคุมเครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรม ที่สามารถทำงานได้อย่างอัตโนมัติ โดยชุดโมดูลจำลองการคัดแยกสีของวัตถุนี้จะออกแบบสำหรับใช้เป็นตัวต้นแบบและเป็นสื่อการสอน เพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่ได้ทำการศึกษาโครงงานนี้ ให้ได้มีความเข้าใจวิธีและหลักการทำงานของโครงงาน พร้อมทั้งสามารถที่จะนำโครงงานนี้ไปประยุกต์ออกแบบใช้งานจริงในการผลิตสินค้าต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

2. ความเป็นมาของโครงงาน
*** เนื่องจากในปัจจุบันการผลิตสินค้าต่างๆ นิยมจะตกแต่งสินค้าให้มีความสวยงาม และเพิ่มมูลค่าของสินค้า โดยการตกแต่งสินค้าด้วยสีสันต่างๆ ลงบนตัวสินค้า เพื่อเป็นสิ่งจูงใจให้ลูกค้าเกิดความสนใจมากขึ้น ด้วยเหตุนี้ทำให้ตัวสินค้ามีสีสันที่หลากหลายหรือมีหลายเฉดสีมากขึ้น การที่จะผลิตหรือคัดแยกสินค้าที่มีหลากหลายเฉดสีด้วยคนทั่วไปนั้น เป็นสิ่งที่ทำได้ยากมาก เนื่องจากสายตาของคนทั่วไป มีข้อจำกัดในการแบ่งแยกและไม่มีมาตรฐานที่ถูกต้องแน่นอน อย่างเช่นถ้าหากให้คนจำนวน 10 คน บอกชนิดของเฉดสีต่างๆ ที่มีความใกล้เคียงกัน คำตอบที่ได้นั้นอาจมีหลายคำตอบไม่ตรงกัน ตามความคิดของแต่ละคน อีกทั้งบางคนที่จ้องมองสีเป็นเวลานานๆ และบ่อยๆ อาจทำให้เกิดอันตรายต่อสายตาได้เช่นกัน ดังนั้นเพื่อแก้ปัญหาดังที่กล่าว จึงได้จัดทำชุดโมดูลสำหรับคัดแยกชนิดของสีขึ้นมา โดยการใช้อุปกรณ์ทางด้านอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถตรวจจับสีได้โดยเฉพาะ ซึ่งจะทำให้สามารถคัดแยกสีได้อย่างละเอียดและถูกต้องตามคุณสมบัติของค่าสี นอกจากนี้ยังได้ทำการออกแบบให้อุปกรณ์ตรวจจับสีทำงานร่วมกันได้กับอุปกรณ์ควบคุมที่มีความสามารถอย่างพีแอลซี ซึ่งเป็นที่รู้จักกันเป็นอย่างดีในงานควบคุมเครื่องจักรในโรงงานอุตสาหกรรม ที่สามารถทำงานได้อย่างอัตโนมัติ โดยชุดโมดูลจำลองการคัดแยกสีของวัตถุนี้จะออกแบบสำหรับใช้เป็นตัวต้นแบบและเป็นสื่อการสอน เพื่อเป็นประโยชน์ต่อผู้ที่ได้ทำการศึกษาโครงงานนี้ ให้ได้มีความเข้าใจวิธีและหลักการทำงานของโครงงาน พร้อมทั้งสามารถที่จะนำโครงงานนี้ไปประยุกต์ออกแบบใช้งานจริงในการผลิตสินค้าต่างๆ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ

3. ขอบเขตของโครงงาน
3.1*สามารถเริ่มและหยุดการทำงานของสายลำเลียงได้โดยปุ่มควบคุม
3.2*สามารถคัดแยกวัตถุตามลักษณะของสีได้ 3 สี คือ สีเขียว สีน้ำเงิน และสีแดง
3.3*สายพานลำเลียงขับเคลื่อนด้วยมอเตอร์ไฟฟ้ากระแสตรง
3.4*ตรวจจับสีของวัตถุโดยอุปกรณ์ตรวจจับสีชนิดแสงสะท้อนกลับ

4. การวางแผนและออกแบบ
เมื่อได้ทำการรวบรวมข้อมูลต่างๆ แล้ว ได้ทำการวางแผนการดำเนินการออกแบบเป็น 3 ขั้นตอน ดังนี้
4.1*การออกแบบแผนผังการทำงานของโมดูล

รูปที่*1*แผนผังการทำงานของโมดูลจำลองการ
แยกสีชิ้นงานควบคุมโดยพีแอลซี

- เซนเซอร์*เป็นส่วนที่ใช้ตรวจสอบวัตถุสี ที่จะทำการตรวจสอบ
- พีแอลซี**เป็นอุปกรณ์หลักในการควบคุมการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ
- ชุดควบคุมโมดูลฯ**เป็นส่วนที่ให้ผู้ใช้งานควบคุมการเริ่มและหยุดการทำงานได้
- ชุดนับจำนวน**เป็นส่วนที่ใช้นับจำนวนวัตถุสีที่ผ่านการคัดแยกแล้ว
- ชุดมอเตอร์**เป็นส่วนที่ใช้งานควบคุมการเคลื่อนที่ของวัตถุสีที่ต้องการตรวจเช็ค
- ชุดโซเลนอยด์**เป็นส่วนที่ใช้ในการควบคุมทิศทางการไหลของวัตถุสีที่ต้องการตรวจเช็ค
- ชุดกลไกคัดแยก**เป็นช่องทางสำหรับลำเลียงวัตถุสีออกตามที่ต้องการ
- แหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง**เป็นส่วนที่เปลี่ยนแรงดันไฟฟ้ากระแสสลับให้เป็นกระแสตรง
- แหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสสลับ**เป็นแหล่งพลังงานที่จ่ายให้พีแอลซี และวงจรแหล่งจ่ายไฟฟ้ากระแสตรง

4.2* แบบโครงสร้างของโมดูล
ตัวโครงสร้างได้ทำการเลือกใช้วัสดุอะคริลิค สำหรับทำเป็นแท่นหรือตัวโมดูล ซึ่งเหมาะสมและสะดวกต่อการติดตั้งอุปกรณ์ต่างๆ โดยได้ทำการออกแบบโครงสร้าง ดังรูป






รูปที่*2*ภาพลายเส้นด้านบนของโมดูล



รูปที่*3*ภาพถ่ายด้านบนของโมดูล



4.3 การออกแบบขั้นตอนการทำงานของโมดูล


รูปที่*4*แผนผังการทำงานของโมดูลจำลองการแยกสีชิ้นงานควบคุมโดยพีแอลซี

5. การออกแบบวงจร
จากการออกแบบการทำงานของโมดูลฯ เพื่อให้สะดวกต่อการออกแบบวงจร ได้ออกแบบวงจรออกตามหน้าที่การทำงานออกเป็น 6 วงจรย่อย ดังนี้
5.1*วงจรภาคควบคุมหลัก
ในวงจรควบคุมส่วนนี้จะมีอุปกรณ์ที่สำคัญหลักๆ คือ พีแอลซี ทำหน้าที่รับสภาวะอินพุทจากอุปกรณ์เซนเซอร์ต่างๆ แล้วทำการประมวลผลจากชุดโปรแกรมที่บันทึกไว้ภายในหน่วยความจำ จากนั้นจะทำการควบคุมชุดมอเตอร์ ชุดคัดแยกวัตถุสีให้เป็นไปตามเงื่อนไข โดยภาคควบคุมหลักเป็นพีแอลซีที่มีคุณสมบัติ ดังนี้
ยี่ห้อผู้ผลิต MITSUBISHI
รุ่น FX0S-30MR
แรงดันอินพุต/เอ้าท์พุท 85-264 Vac / 24 Vdc
ช่องต่อควบคุมด้านอินพุต 18 อินพุต
ช่องต่อควบคุมด้านเอ้าท์พุท 16 เอ้าท์พุท


รูปที่*5*วงจรภาคควบคุมหลัก

5.2*วงจรภาคเซนเซอร์
ภาคเซนเซอร์ประกอบด้วยอุปกรณ์เซนเซอร์ชนิดใช้แสงทั้งหมด ทำหน้าที่ตรวจสอบวัตถุสีที่ป้อนเข้ามา จะติดตั้งอยู่ที่ช่องใส่วัตถุสี จำนวน 3 ตัว (Sensor 1, 2, 3) และตามชุดสายพานลำเลียงหลัก จำนวน 3 ตัว (Sensor 4, 5, 6) โดยค่าที่ได้จากการตรวจเช็ค จะส่งให้พีแอลซีในภาคควบคุมหลักเพื่อทำการประมวลผลต่อไป ซึ่งหน้าที่เซนเซอร์แต่ละตัวจะกำหนดไว้ ดังนี้

รูปที่*6*วงจรภาคเซนเซอร์

5.3*วงจรภาคขับเคลื่อนมอเตอร์
ภาคขับเคลื่อนมอเตอร์ เป็นส่วนควบคุมการไหลของวัตถุสีที่ทำการป้อนเข้ามา ตลอดจนถึงจบขั้นตอนการคัดแยก จะถูกควบคุมการทำงานโดยพีแอลซีจะประกอบด้วยมอเตอร์ M1 ทำหน้าที่ขับเคลื่อนชุดสายพานลำเลียงตัวหลัก M2, M3 และ M4 ทำหน้าที่ขับเคลื่อนชุดสายพานลำเลียงของช่องคัดแยกสีเขียว น้ำเงิน และแดงตามลำดับ

รูปที่*7*วงจรภาคขับเคลื่อนมอเตอร์

5.4*วงจรภาคขับเคลื่อนโซเลนอยด์
สำหรับโซเลนอยด์ So1 และ So2 จะทำการติดตั้งอยู่ในช่องใส่วัตถุสี ทำหน้าที่กั้นและปล่อยวัตถุสีที่ป้อนเข้ามาให้หล่นลงสู่ชุดสายพานลำเลียงหลัก ให้เป็นไปตามจังหวะ ส่วน So3, So4 และ So5 จะติดตั้งตามชุดสายพานลำเลียงหลัก ทำหน้าที่ผลักวัตถุสีให้เปลี่ยนทิศทางไปยังชุดสายพานย่อยของแต่ละสี
รูปที่*8*วงจรภาคขับเคลื่อนโซเลนอยด์

5.5*วงจรภาคแสดงผล
สำหรับภาคแสดงผลประกอบด้วย LED2 จะแสดงสถานะเมื่อวงจรอยู่ในสภาวะทำงาน ร่วมกับตัวนับจำนวน (Counter) วัตถุสีที่ได้ทำการคัดแยกแล้ว โดยจะใช้ตัวนับจำนวนชนิดสำเร็จรูป

รูปที่*9*วงจรภาคแสดงผล

5.6**วงจรภาคจ่ายไฟ
ในวงจรภาคจ่ายไฟฟ้านี้ประกอบด้วยหม้อแปลงไฟฟ้ากระแสสลับจาก 220 โวลต์เป็น 24 โวลต์ จากนั้นวงจรไดโอดบริดจ์ จะทำการเรียงกระแสไฟฟ้ากระแสสลับเป็นไฟฟ้ากระแสตรง สุดท้ายจะใช้ตัวเก็บประจุและไอซีเบอร์ LM7824 เป็นตัวปรับแรงดันไฟฟ้าให้คงที่ มีค่าแรงดัน 24โวลต์ วงจรภาคจ่ายไฟชุดนี้จะใช้สำหรับจ่ายให้กับอุปกรณ์จำพวกมอเตอร์และโซเลนอยด์ เนื่องจากแรงดันที่ได้จากพีแอลซีมีกระแสต่ำ ไม่เพียงพอที่จะจ่ายให้กับอุปกรณ์จำพวกมอเตอร์และโซเลนอยด์ ซึ่งจะกินกระแสมาก


รูปที่*10*วงจรภาคจ่ายไฟกระแสตรง 24โวลต์

เมื่อนำวงจรของแต่ละภาคมารวมกันแล้วจะได้วงจรที่สมบูรณ์ ดังรูป


รูปที่*11*วงจรสมบูรณ์ของโครงงาน

6. การออกแบบและเขียนโปรแกรมแลดเดอร์
การเขียนโปรแกรมแลดเดอร์ที่สะดวกและง่าย ก็คือการใช้คอมพิวเตอร์เป็นเครื่องมือในการออก แบบและเขียนโปรแกรมลงสู่พีแอลซี ซึ่งตัวโปรแกรมเองส่วนมากได้จากบริษัทผู้ผลิตพีแอลซีเอง ตามโครงงานนี้จะใช้โปรแกรม GX Developer เวอร์ชั่น 8 ซึ่งเป็นชุดซอร์ฟแวร์ของบริษัทผู้ผลิตพีแอลซี ยี่ห้อ Mitsubishi สำหรับการใช้งานโปรแกรม GX Developer Version 8
รูปที่*12*การต่อเครื่องคอมพิวเตอร์เข้ากับพีแอลซี


รูปที่*13*สายสัญญาณเชื่อมเครื่องคอมพิวเตอร์
กับพีแอลซี

รูปที่*14*ซอร์ฟแวร์พัฒนาโปรแกรมภาษา
แลดเดอร์ (GX Developer)

7. การใช้งานโมดูลจำลองการแยกสีชิ้นงานควบคุมโดยพีแอลซี
7.1**เสียบปลั๊กไฟฟ้า เอซี 220 โวลต์ จากนั้นเปิดสวิทช์เพาเวอร์ที่ด้านหลังเครื่อง

รูปที่*15*การเปิดสวิทช์ไฟของโมดูล
7.2**เครื่องจะมีไฟติดด้านหน้าที่ตำแหน่ง Power

รูปที่*16*แสดงไฟสถานะแสดงการพร้อมทำงาน

7.3**เริ่มการทำงานของโมดูล โดยการกดปุ่มสีน้ำเงิน (Start) 1 ครั้ง จะทำให้สายพานหลักทำงาน


รูปที่*17*การกดปุ่มเริ่มการใช้งานโมดูล

7.4* ใส่วัตถุสีที่ต้องการทดสอบลงในช่องใส่วัตถุสี

รูปที่*18*การใส่วัตถุสีลงในช่องใส่วัตถุสี

7.5**วัตถุสีจะหล่นลงมาค้างอยู่ที่จุดตรวจสอบชนิดของสี ประมาณ 1 วินาที จากนั้นวัตถุสี จะหล่นลงมาที่สายพานลำเลียงตัวหลัก และจะไหลออกมาด้านนอกเพื่อคัดแยก


รูปที่*19*การไหลของวัตถุสีบนสายพานลำเลียง
ตัวหลัก
****
7.6**เมื่อวัตถุหล่นลงมาอยู่ที่สายพานลำเลียงตัวหลักแล้ว สามารถที่จะทำการใส่วัตถุสีตัวต่อไปได้
7.7**เมื่อวัตถุสีไหลมาที่ตำแหน่งคัดแยกสีที่ได้บันทึกไว้ในขั้นตอนการตรวจสอบ โซเลนอยด์จะทำการผลักก้านดีดออกมากั้นวัตถุสีให้เปลี่ยนทิศทางการไหลไปยังรางสายพานย่อยของแต่ละสี เพื่อการคัดแยก


รูปที่*20*การคัดแยกวัตถุโดยการผลักก้านดีด
ออกมากั้นวัตถุสีให้เปลี่ยนทิศทาง


รูปที่*21*การลำเลียงวัตถุสีที่คัดแยกแล้ว

7.8**สายพานย่อยของสีที่คัดแยก จะลำเลียงวัตถุสีที่ได้คัดแยกแล้วออกมาจนสุดสายพาน จะทำให้สายพานย่อยของสีนั้นหยุดหมุน และในจังหวะนี้ถ้าหากมีการใส่วัตถุสีตัวต่อไปแล้ว ก็จะมีการตรวจสอบสี และมีกระบวนการทำงานตามลักษณะเดิมไปเรื่อยๆ
7.9**เมื่อโมดูลทำงานจบกระบวนการตามที่ต้องการแล้ว หากต้องการหยุดการทำงานชั่วคราวให้กดปุ่มสีแดงด้านหน้าเครื่อง จะทำให้สายพานหยุดทำงาน

รูปที่*22*การกดปุ่มหยุดทำงานชั่วคราว

8.**การทดสอบโมดูลจำลองการแยกสีชิ้นงานควบคุมโดยพีแอลซี
การทดสอบโมดูลจำลองการแยกสีชิ้นงานควบคุมโดยพีแอลซี ได้ทดลอบโดยการนำวัตถุสีที่ได้จัดเตรียมไว้จำนวน 4 สี ได้แก่ สีเขียว สีแดง สีน้ำเงิน และสีดำ จากนั้นทำการใส่วัตถุสีลงไปในช่องใส่วัตถุสีของโมดูล แล้วทำการจดบันทึกผลที่ได้จากการคัดแยกลงในตารางบันทึกผล โดยได้แบ่งการทดลอบออกเป็น 3 วิธี ๆ ละ 30 ครั้ง คือ การใส่วัตถุสีโดยการใส่สีเดียวต่อเนื่อง การวัตถุสีโดยการใส่สลับสี และการใส่วัตถุสีโดยการใส่สีที่ไม่ได้กำหนด จากนั้นได้บันทึกผลการทดลองลงในตารางบันทึกผลทั้ง 3 วิธี
รูปที่*23*แสดงวัตถุสีที่ใช้ในการทดสอบ
ตารางที่*1**ผลการทดสอบโดยการใส่สีเดียว
ต่อเนื่อง (สีละ 30 ครั้ง)
จากการทดสอบเครื่องจำลองการแยกสีชิ้นงานควบคุมโดยพีแอลซี ด้วยวิธีการใส่สีเดียวต่อเนื่อง ทั้งหมด 4 สี ได้แก่ สีเขียว, น้ำเงิน, แดง และดำ ปรากฏว่าเครื่องสามารถคัดแยกได้ 100 % ยกเว้น สีเขียว ที่มีค่าความถูกต้องได้ 93.33 % และมีค่าความผิดพลาด 6.66 %

ตารางที่*2**ผลการทดสอบโดยการใส่
สลับสี (รวม 30 ครั้ง)
จากการทดสอบเครื่องจำลองการแยกสีชิ้นงานควบคุมโดยพีแอลซี ด้วยวิธีการใส่สลับสี ปรากฏว่าเครื่องสามารถคัดแยกได้ถูกต้อง 96.67 % ส่วนที่สีที่ผิดพลาด 3.33 % คือ สีเขียว



ตารางที่*3**แสดงผลการทดสอบการคัด
แยกวัตถุสีโดยการใส่สีที่ไม่ได้
กำหนด (รวม 30 ครั้ง)

จากการทดสอบเครื่องจำลองการแยกสีชิ้นงานควบคุมโดยพีแอลซี ด้วยวิธีการใส่วัตถุสีที่ไม่ได้กำหนด ปรากฏว่าเครื่องจะทำการคัดแยก (วัตถุจะไหลออกทางช่องสายพานหลักออกไป) ซึ่งหมายความว่าการตรวจสอบถูกต้อง 100% โดยไม่มีการผิดพลาด

9. สรุปผลการดำเนินงาน
โครงงานโมดูลจำลองการแยกสีชิ้นงานควบคุมโดยพีแอลซี เป็นการนำเอาอุปกรณ์ทางด้านอิเล็คทรอนิคส์ มาประยุกต์ใช้แยกวัตถุตามชนิดของสี เพื่อนำมาใช้ในงานอุตสาหกรรม จากการทดลอง ได้ผลการทดสอบ การคัดแยกวัตถุสี โดยได้แบ่งการทดสอบออกเป็น 3 วิธี ๆ ละ 30 ครั้ง คือ การใส่วัตถุสีโดยการใส่สีเดียวต่อเนื่อง การวัตถุสีโดยการใส่สลับสี และการใส่วัตถุสีโดยการใส่สีที่ไม่ได้กำหนด จะมีติดขัดบ้างในส่วนของแมคคานิค สำหรับเซนเซอร์ตรวจจับวัตถุสีสามารถคัดแยกสีได้ถูกต้องตามที่กำหนดไว้ คุณภาพของวัสดุและอุปกรณ์เซนเซอร์ต่างๆ ที่นำมาใช้ในการทำโครงงาน มีผลกระทบต่อประสิทธิภาพการทำงานของโครงงานนี้เป็นอย่างมาก

10. ปัญหาและอุปสรรคในการทดลอง
10.1*ชุดของสายพานลำเลียงสั้นไป ทำให้ยากต่อการติดตั้งอุปกรณ์
10.2*ชุดมอเตอร์และโซเลนอยด์ มีกำลังน้อย ทำให้ต้องจ่ายแรงดันเพิ่มสูงขึ้น
10.3*ชุดมอเตอร์และโซเลนอยด์มีลักษณะร้อน หากเปิดทำงานเป็นเวลานาน
10.4*ในการติดตั้งตัวเซนเซอร์สี ในช่องใส่วัตถุสี หากติดตั้งไม่ดีจะทำให้การทำงานผิดพลาดได้ง่าย

11. ข้อเสนอแนะและแนวทางในการพัฒนา
11.1* เพิ่มระยะสายพานให้ยาวขึ้น เพื่อให้สามารถเพิ่มจำนวนการตรวจเช็ควัตถุสีได้มากขึ้น
11.2* ควรปรับปรุงขนาดของมอเตอร์ให้เหมาะกับชุดสายพานลำเลียง
11.3* ควรเพิ่มเติมวงจรเซนเซอร์โวมอเตอร์และโซเลนอยด์ ให้มีประสิทธิภาพ จะทำให้อุปกรณ์ชุดสายพานลำเลียงทำงานได้ดีขึ้น
11.4* ควรออกแบบโครงสร้างของโมดูล ให้เหมาะสมกับวัตถุที่นำมาตรวจเช็ค พร้อมทั้งจัดหาและติดตั้งอุปกรณ์เซนเซอร์ให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น
11.5* สามารถนำโครงงานนี้ไปประยุกต์ใช้งานในรูปแบบอื่นๆ ในโรงงานอุตสาหกรรมได้ เช่น ใช้ในการคัดแยกสินค้าโดยใช้ความแตกต่างของสี การควบคุมคุณภาพสีของสินค้า เป็นต้น
11.6* นำไปใช้ในการเรียนการสอน เพื่อศึกษาการทำงานของอุปกรณ์ต่างๆ ในโครงงานนี้

กิตติกรรมประกาศ
ในการจัดทำปริญญานิพนธ์ในครั้งนี้ สามารถสำเร็จลุล่วงได้ด้วยดี ด้วยความช่วยเหลือจาก อาจารย์สมนึก ธัญญาวินิชกุล, อาจารย์อภิชาติ หาจัตุรัส, อาจารย์สัมพันธ์ แหล่งป่าหมุ้น ตลอดจนอาจารย์ทุกๆ ท่านที่ได้อบรมสั่งสอน ให้สติ ปัญญา ความรู้ คำปรึกษา ในการทำโครงงานในครั้งนี้ และที่สำคัญคือพระคุณบิดา-มารดา ผู้คอยเป็นกำลังใจและทุนทรัพย์ในการศึกษาเล่าเรียบเสมอมา
สุดท้ายนี้ขอขอบคุณอาจารย์ รุ่นพี่ และเพื่อนๆ สาขาวิชาอิเล็กทรอนิกส์ ที่ได้ให้คำแนะนำ ความช่วยเหลือในทุกๆ ด้าน จึงขอขอบคุณมา ณ โอกาสนี้


#####

อุปกรณ์เครื่องใข้ไฟฟ้า

อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าใช้อย่างไรให้ประหยัด
สิ่งที่จะทำให้เกิดการประหยัดพลังงานให้ได้ผลอย่างจริงจังนั้น คือ ความตั้งใจ และจริงจังต่อตนเอง ภายใต้ "จิตสำนึก" ที่ต้องคิดเสมอว่า "จะประหยัดพลังงานและเงินค่าไฟฟ้า" โดยอาศัยหลักการเบื้องต้นของการประหยัดไฟฟ้า คือ เลือกใช้เครื่องไฟฟ้าให้เหมาะสมกับสภาพความเป็นอยู่ความจำเป็นและจำนวนสมาชิกเพื่อจะได้ใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าให้เกิดประโยชน์อย่างแท้จริง พร้อมทั้งตรวจสอบเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีอยู่ ให้อยู่ในสภาพดีอยู่เสมอและดูว่าเครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละชนิดกินไฟมากน้อยเท่าใดเพื่อที่จะได้ใช้ให้ถูกต้อง

ก่อนซื้อต้องคิดถึงอะไร
สิ่งแรกที่ต้องคำนึงถึง คือ ราคา ซึ่งถือเป็นข้อพิจารณาที่สำคัญและควรคิดถึงเสมอว่า เครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีราคาถูกนั้นไม่ใช่เป็นข้อสรุปในการตัดสินใจซื้อ เพราะของถูกอาจกินไฟมาก และมีอายุการใช้งานสั้นก็ได้ ควรดูว่าเครื่องใช้ไฟฟ้านั้นเกินไฟมากน้อยเพียงใด โดยดูจากแผ่นป้ายที่บอกได้ที่ตัวเครื่องว่ากินไฟกี่วัตต์ จำนวนวัตต์มากจะเสียงค่าไฟฟ้ามากการซื้ออุปกรณ์ไฟฟ้าคุณภาพดี สามารถประหยัดพลังงานไฟฟ้าได้ตลอดอายุการใช้งาน และควรเลือกอุปกรณ์ไฟฟ้าที่มีความปลอดภัยและเชื่อถือได้ในคุณภาพ ผ่านการรับรองคุณภาพของสินค้าจากสำนักงานมาตรฐานผลิตภัณฑ์อุตสาหกรรมด้วย
นอกจากนี้การติดตั้งและบำรุงรักษา ก็ต้องมีการศึกษาชนิดของเครื่องไฟฟ้านั้น ๆ ควรมีระบบการติดตั้งไม่ยุ่งยาก อะไหล่หาง่าย เพื่อให้ผู้ใช้สะดวกไม่ต้องเสียค่าซ่อมบ่อย อายุการใช้งานยาวขึ้น แล้วยังทำให้เกิดการประหยัดไฟฟ้าอีกด้วย

ประสิทธิภาพสำคัญอย่างไร
สิ่งสำคัญที่ไม่ควรมองข้ามเลย คือ คุณภาพของสินค้าและราคาค่าไฟฟ้าที่ต้องจ่ายตลอดเวลาการใช้งานของเครื่องใช้ไฟฟ้าชนิดนั้น การเลือกใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพ หมายถึงสินค้าคุณภาพดีที่มักใช้อุปกรณ์และส่วนประกอบที่มีคุณภาพ ประกอบกับการรู้วิธีการใช้ที่ถูกต้อง จะทำให้ผู้ใช้สามารถลดค่าใช้จ่ายเรื่องค่ากระแสไฟฟ้าลงได้ แม้ว่าราคาซื้อจะสูงกว่าเครื่องใช้ไฟฟ้าโดยทั่วไป แต่ถ้าคิดถึงการใช้ตลอดอายุการใช้งานแล้วจะคุ้มได้ในเวลาไม่นานนัก
โดยเฉลี่ยแล้วครอบครัวคนไทยในเมืองจะต้องจ่ายค่ากระแสไฟฟ้าประมาณปีละ 7,500 บาท และ 2,500 บาท สำหรับครอบครัวในชนบท เพราะไฟฟ้าที่พวกเราใช้อยู่ทุกวันนี้จะสอดแทรกกับทุกกิจกรรมตลอด 24 ชั่วโมง ไม่ว่าจะหลับหรือตื่น ทั้งเวลาทำงานและเวลาพักผ่อน
ปัจจุบันประชากรของไทยมีฐานะทางเศรษฐกิจดีขึ้น จะสังเกตได้จากผู้คนส่วนมากสามารถหาซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้าในบ้านได้มากขึ้นทุกวัน นั่นหมายถึงความต้องการใช้ไฟฟ้าที่เพิ่มขึ้นด้วย
แม้ว่าการเลือกซื้อเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ช่วยประหยัดไฟฟ้าเป็นสิ่งที่ต้องคิดเป็นสิ่งแรกแล้ว การใช้หรือวิธีการใช้งานก็จำเป็นต้องใช้อย่างถูกต้องด้วย จึงจะเป็นการประหยัดอย่างแท้จริง เนื่องจากเครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละชนิดมีลักษณะการใช้ที่แตกต่างกันออกไป


เลือกเครื่องปรับอากาศประสิทธิภาพสูงหนทางประหยัดระยะยาว
การประเมินประสิทธิภาพของพลังงานไฟฟ้าของเครื่องปรับอาอาศก็คือการเปรียบเทียบค่า EER (Energy Efficiency Ratio) สำหรับเครื่องปรับอากาศรุ่นต่าง ๆ ควรเลือกเครื่องที่มีค่า EER เท่ากับ 10 หรือมากกว่า เพราะจะมีประสิทธิภาพมากกว่า โดยผู้ใช้สามารถคำนวณค่า EER ของเครื่องปรับอากาศได้ด้วยตัวเอง
ค่า EER ยิ่งสูงยิ่งประหยัด ตัวเลข 7, 8 หรือ 9 เป็นตัวชี้บอกระดับประสิทธิภาพมีหน่วยเป็น บีทียูต่อวัตต์ โดยปกติแล้วเครื่องปรับอากาศที่กินไฟ 1 วัตต์ สามารถเอาความร้อนออกได้ 12 บีทียู ซึ่ง บีทียู สูงถือได้ว่าเป็นเครื่องปรับอากาศประหยัดพลังงาน
ในคู่มือขายเครื่องปรับอากาศหรือฉลากของเครื่อง จะมีขนาดของเครื่องทำความเย็นระบุเป้น บีทียู/ชั่วโมง หรือตันกำลังไฟฟ้าที่บอกจำนวนวัตต์ที่มอเตอร์คอมเพรสเซอร์ต้องใช้ และถ้าเป็นระบบแยกส่วนต้องรวมกำลังไฟฟ้าของเครื่องภายในห้องและคอมเพรสเซอร์ภายนอกห้องเข้าด้วยกัน เพื่อให้ได้จำนวนวัตต์ทั้งหมดที่ต้องใช้ในการคำนวณตามสูตรด้านล่างนี้
EER = ขนาดทำความเย็น (BTU/hr)
กำลังไฟฟ้าที่ใช้ทั้งหมด (วัตต์)
การใช้อุปกรณ์เพิ่มเติมเพื่อช่วยเพิ่มประสิทธิภาพ เป็นอีกทางหนึ่งที่ทำให้ผู้ใช้ประหยัดพลังงานได้ เช่น เครื่องควบคุมอุณหภูมิแบบอิเล็กทรอนิค เป็นสิ่งที่ทำให้มีการใช้พลังงานอย่างมีประสิทธิภาพ
ปัจจุบันเครื่องปรับอากาศบางรุ่นใส่เครื่องควบคุมดังกล่าวเข้าไปด้วย ทำให้สามารถตั้งระดับอุณหภูมิและระยะเวลาที่ใช้ในการเปลี่ยนอุณหภูมิได้ตามต้องการ เครื่องควบคุมนี้จะช่วยให้เครื่องปรับอากาศทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพมากขึ้น
ส่วนเครื่องปรับอากาศที่มีสวิตช์เลือกใช้พัดลมเพียงอย่างเดียวเหมาะสำหรับใช้ในเวลากลางคืน เพราะจะช่วยลดค่าใช้จ่ายของเครื่องปรับอากาศลงได้ และเครื่องปรับอากาศที่มีปุ่มไฟเตือนให้ทำความสะอาดแผ่นกรองฝุ่นตามระยะเวลา ปุ่มควบคุมการทำงานของพัดลมซึ่งจะถ่วงเวลาการหยุดทำงานออกไประยะเวลาสั้น ๆ หลังจากคอมเพรสเซอร์หยุดทำงานแล้ว สิ่งเหล่านี้เป็นทางเลือกที่เป็นประโยชน์มากที่ช่วยให้ประหยัดไฟ

เครื่องทำน้ำอุ่น
เครื่องทำน้ำอุ่นเป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่นิยมใช้ในปัจจุบัน เพราะผู้ใช้ยอมรับว่าน้ำอุ่นสามารถขจัดไขมันหรือสิ่งสกปรกที่ติดตามร่างกายได้ดีกว่าน้ำเย็น ทำให้รู้สึกสบายตัวกว่าอาบน้ำเย็น
วิธีใช้เครื่องทำน้ำอุ่นสำหรับอาบให้ประหยัดควรเลือกขนาดของเครื่องให้เหมาะสมตามความจำเป็นภายในครัวเรือน และไม่ควรเปิดเครื่องตลอดเวลาขณะอาบน้ำ เปิดเครื่องให้น้ำไหลพอเหมาะกับการใช้งาน ปิดเครื่องทันทีเมื่อเลิกใช้ และปิดวาล์วน้ำและสวิตช์ทันทีเมื่อเลิกใช้งาน
ปกติแล้วเครื่องทำน้ำอุ่นจะกินไฟประมาณ 900 - 4800 วัตต์ แล้วแต่ขนาด ข้อสำคัญเกี่ยวกับเครื่องทำน้ำอุ่นในห้องน้ำก็คือ ใช้แล้วควรปิดเครื่อง อย่าเปิดสวิตช์ทิ้งไว้ นอกจากนี้ต้องระวังอย่าให้น้ำรั่วจากฝักบัว เพราะจะทำให้เครื่องต้องทำงานมากกว่าปกติ
เครื่องสูบน้ำ (สำหรับบ้านอยู่อาศัย) เครื่องสูบน้ำเป็นอุปกรณ์ที่ใช้พลังงานไฟฟ้ามากชนิดหนึ่งมีชนิดและขนาดแตกต่างกันออกไป โดยปกติเครื่องสูบน้ำที่ใช้ในบ้านส่วนมากจะมีขนาด 355 - 433 วัตต์ เพื่อเป็นการลดการใช้พลังงานไฟฟ้าที่สูญเปล่าไปโดยไม่จำเป็นการใช้เครื่องสูบน้ำให้ประหยัดไฟฟ้าทำได้ดังนี้ ควรใช้ขนาดให้เหมาะสม โดยให้มีขนาดใหญ่พอควร เพราะถ้าถังความดันเล็กเกินไป สวิตช์อัตโนมัติต้องทำงานถี่มากขึ้นเป็นปลให้มอเตอร์ต้องทำงานมากขึ้น และควรสร้างบ่อพักน้ำไว้ในระดับพื้นดินปล่อยน้ำประปาลงไปเพื่อให้ถูกต้องตามกฏหมายและจะช่วยประหยัดพลังงานเพราะเครื่องสูบน้ำจะทำงานเมื่อใช้น้ำเท่านั้น
สำหรับระบบเครื่องสูบน้ำ ที่ใช้ถังเก็บสูงเหนือพื้นดิน และปล่อยน้ำลงมาใช้ ควรสูบน้ำขึ้นถังเก็บน้ำให้เต็ม และเมื่อใช้น้ำจนเกือบหมดถังจึงสูบน้ำให้เต็ม เพื่อไม่ต้องเปิด - ปิด เครื่องบ่อยครั้งโดยไม่จำเป็นและควรใช้สวิตช์อัตโนมัติช่วยการทำงานเพราะการสูบน้ำจะกินไฟมากเมื่อมอเตอร์เริ่มทำงาน
การประหยัดเพื่อลดการสูญเปล่าของน้ำได้มากเท่าใด จะช่วยให้ประหยัดพลังงานไฟฟ้าได้มากขึ้นเช่นกัน การลดการสูญเสียของน้ำ ซึ่งเกิดจากการรั่วหรือชำรุดของท่อประปาและถังพักน้ำ ส้วมชักโครกเพราะว่าน้ำประปาที่รั่วไหลออกมาก็ต้องใช้เครื่องสูบน้ำเช่นเดียวกัน
การบำรุงรักษาเครื่องสูบน้ำให้ดี จะช่วยให้ลดการสึกหรอของเครื่องสูบน้ำได้ เพราะเครื่องสูบน้ำเมื่อใช้ไปนาน ๆ แผ่นปะเก็นซีลและลูกยางจะสึก ทำให้เครื่องสูบน้ำหลวม สูบน้ำได้ไม่ดีเท่าที่ควร ทำให้เสียเวลาและเปลืองไฟโดยใช่เหตุ สิ่งที่ควรแก้ไขคือ ตรวจสภาพสายพานที่เชื่อมโยงระหว่างมอเตอร์ไฟฟ้ากับตัวเครื่องสูบน้ำ ไม่ควรหย่อนหรือตึงเกินไป และควรทำความสะอาดตะกอนในถังความดันเป็นครั้งคราวเพราะถ้ามีตะกอนมากอาจเกิดการอุดตันในเครื่องทำให้ทำงานหนัก หากเป็นไปได้ควรติดตั้งเครื่องกรองน้ำด้วย
ข้อสังเกต
เครื่องสูบน้ำ 1/3 แรงม้า ใช้ 5 ชั่วโมงต่อวัน ค่าไฟฟ้าต่อเดือนเป็นเงินประมาณ 88 บาท
เครื่องสูบน้ำ 1/2 แรงม้า ใช้ 5 ชั่วโมงต่อวัน ค่าไฟฟ้าต่อเดือนเป็นเงินประมาณ 132 บาท

โทรทัศน์
ปัจจุบันเครื่องรับโทรทัศน์เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่เข้ามามีบทบาทในชีวิตประจำวันแทบทุกครัวเรือน ให้ความบันเทิง ให้ความรู้ ให้ข่าวสารสาระประโยชน์มากมาย เครื่องรับโทรทัศน์กลายเป็นสิ่งจำเป็นสำหรับทุกบ้านเรือนไปแล้ว ครอบครัวในฐานะปานกลางอาจมีโทรทัศน์มากกว่า 1 เครื่อง เพราะโทรทัศน์เป็นสื่ออิเล็คทรอนิคส์ที่เข้าถึงผู้รับได้อย่างรวดเร็วทันเหตุการณ์
เครื่องรับโทรทัศน์ที่นิยมใช้อยู่ในปัจจุบัน เป็นโทรทัศน์สีขนาดต่าง ๆ ตั้งแต่ขนาด 12 - 30 นิ้ว มีทั้งระบบทั่วไป และระบบรีดมทคอนโทรล เมื่อพิจารณาถึงพลังงานที่ใช้แล้ว โทรทัศน์สีที่มีระบบรีโมทคอนโทรลจะกินไฟมากกว่าโทรทัศน์สีระบบทั่วไปที่มีขนาดเดียวกัน เพราะมีวงจรเพิ่มเติมและกินไฟตลอดเวลา ถึงแม้จะไม่ใช้เครื่องรีโมทคอนโทรลก็ตาม
ดังนั้นวิธีใช้เครื่องรับโทรทัศน์ให้ประหยัดพลังงานสามารถทำได้โดย อย่าเสียบปลั๊กทิ้งไว้เพราะเครื่องรับโทรทัศน์ประเภท "เปิดปุ๊บ ติดปั๊บ" เป็นเครื่องรับโทรทัศน์ที่ไม่ต้องรอ สามารถรับภาพได้ทันทีเมื่อกดปุ่มเปิด เครื่องรับโทรทัศน์ประเภทนี้ถ้าเสียบปลั๊กทิ้งไว้จะกินไฟตลอด 24 ชั่วโมง ดังนั้น ควรถอดปลั๊กทุกเครื่องเมื่อออกนอกบ้าน การทำเช่นนี้นอกจากจะไม่เป็นการสิ้นเปลืองไฟแล้วยังไม่เป็นอันตรายต่อเครื่องด้วย ควรปิดเครื่องรับโทรทัศน์ทุกครั้งเมื่อไม่ต้องการดู และเพื่อความปลอดภัยควรดึงปลั๊กออกทุกครั้งหลังการปิดสวิทช์

กาต้มน้ำ กระติกต้มน้ำร้อนอัตโนมัติ
กาต้มน้ำหรือกระติกต้มน้ำร้อนแบบอัตโนมัติ เป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่อำนวยความสะดวกให้กับทุกครัวเรือน การเลือกใช้กาต้มน้ำหรือกระติกต้มน้ำร้อนอัตโนมัติ ควรเลือขนาดที่พอเหมาะกับครอบครัว และถ้าไม่เป็นเครื่องอัตโนมัติต้องคอยดูเมื่อน้ำเดือดแล้ว ต้องปิดสวิตช์อย่าปล่อยให้เดือดไปเรื่อย ๆ ควรต้มน้ำในปริมาณที่เพียงพอแก่การใช้งานเท่านั้น และควรถอดปลั๊กทันทีเมื่อเลิกใช้งาน อย่าเสียบไฟไว้โดยไม่มีคนอยู่ปรือลืมถอด ซึ่งอาจทำให้ไม่ประหยัดไฟฟ้าแล้วยังเป็นอันตรายถึงเกิดไฟไหม้ได้
กาต้มน้ำไฟฟ้าอัตโนมัติ การต้มน้ำชนิดนี้เมื่อใช้งานจะได้ความร้อนถึงประมาณ 80 - 100 องศาเซลเซียส สวิตช์ควบคุมอันโนมัติจะตัดไฟที่ไส้ทำความร้อนออก แต่จะมีไส้ความร้อนชุดเล็กสำหรับอุ่นทำหน้าที่รักษาอุณหภูมของน้ำให้อุ่นอยู่เสมอ ถ้าต้องการประหยัดก็ควรดึงปลั๊กออกเมื่อไม่ต้องการใช้น้ำอีกต่อไป
ข้อสังเกต
กาต้มน้ำไฟฟ้า 500 วัตต์ เปิด 15 นาทีต่อวัน ค่าไฟฟ้าต่อเดือน เป็นเงินประมาณ 6 บาท
กาต้มน้ำไฟฟ้า 1,300 วัตต์ เปิด 15 นาทีต่อวัน ค่าไฟฟ้าต่อเดือน เป็นเงินประมาณ 16 บาท

การปรุงอาหารด้วยเครื่องใช้ไฟฟ้า
ความสะดวกสบายที่ได้รับจากการปรุงอาหารด้วยเครื่องใช้ไฟฟ้าเป็นที่นิยมสำหรับคนรุ่นใหม่ในเมือง เพราะสะดวก ปราศจากควัน รวดเร็วไม่สิ้นเปลืองเวลา และรูปแบบการปรุงอาหารด้วยเครื่องใช้ไฟฟ้าเหมาะสำหรับที่อยู่อาศัยมีพื้นที่จำกัด อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าสำหรับปรุงอาหาร ได้แก่ หม้อหุงข้าว เตาไฟฟ้า เตาอบไฟฟ้า กาต้มน้ำร้อน กะทะไฟฟ้า เตาไมโครเวฟ เครื่องปิ้งขนมปัง เครื่องปั่นผลไม้ เครื่องผสมอาหาร เป็นต้น
ซึ่งมีข้อสังเกตว่า การนำไฟฟ้ามาเปลี่ยนเป็นความร้อนนั้น จะสิ้นเปลืองไฟฟ้ามาก ประมาณได้ว่ากินไฟ้เกินกว่า 1,000 วัตต์ ขึ้นไป ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับขนาดของภาชนะที่จะรับความร้อนได้เร็วหรือช้าเพียงใด
วิธีประหยัดไฟฟ้าแบบง่ายๆ ทำได้โดย
ทำอาหารต้องมีแผน การประกอบอาหารแต่ละครั้งควรเตรียมเครื่องปรุงต่าง ๆ ให้พร้อมก่อนแล้วจึงเปิดสวิตช์เตาไฟฟ้า ตั้งกะทะประกอบอาหารแต่ละอย่างติดต่อกันไปรวดเดียวจนเสร็จ เมื่อใช้เตาไฟฟ้าควรใช้ภาชนะก้นแบน เช่น กะทะ หม้อ ควรเป็นชนิดก้นแบนพอดีกับเตา ไม่เล็กหรือใหญ่เกินไป เพราะจะได้รับความร้อนจากเตาอย่างเต็มที่ อาหารจะสุกเร็ว
ใส่น้ำพอสมควร การหุงต้มอาหารเช่น ต้มผัก อย่าใส่น้ำมากนัก นอกจากจะไม่น่ารับประทานแล้วยังเปลืองไฟ อาหารสุกช้า และยังเสียคุณค่าทางอาหารอีกด้วย การปิดฝาหม้อจะทำให้อาหารร้อนเร็วขึ้น
การประกอบอาหารด้วยเตาไฟฟ้า ควรปิดสวิตช์ก่อนอาการจะสุกเล็กน้อย เพราะความร้อนที่สะสมอยู่ที่เตายังคงมีพอที่จะทำให้อาหารสุกได้ การทำเช่นนี้จะช่วยประหยัดค่าไฟฟ้าได้
ในกรณีที่ใช้เตาอบไฟฟ้า หรือ เตาอบไมโครเวฟ ซึ่งเป็นเครื่องไฟฟ้าที่ให้ความร้อนในลักษณะของการอบอาหาร เช่น อบไก่ เนื้อ เค็ก ขนมต่างๆ
เตาอบไฟฟ้าจะกินไฟมากหรือน้อยแล้วแต่ขนาดเล็กหรือใหญ่ส่วนมากจะใช้ไฟตั้งแต่ 650 - 1,500 วัตต์ องค์ประกอบที่ทำให้สิ่งที่อบร้อนเร็วหรือช้าขึ้นอยู่กับชนิดรูปร่างและปริมาณอาหารที่นำมาอบจึงควรปฏิบัติตามคู่มือการใช้งานจะช่วยให้ประหยัดไฟได้
ข้อสังเกต
เตาอบไฟฟ้า 400 วัตต์ ใช้ 1 ชั่วโมงต่อวัน ค่าไฟฟ้าต่อเดือนเป็นเงินประมาณ 20 บาท
เตาอบไฟฟ้า 1,000 วัตต์ ใช้ 1 ชั่วโมงต่อวัน ค่าไฟฟ้าต่อเดือนเป็นเงินประมาณ 50 บาท

เตารีดไฟฟ้า
เตารีดเป็นอุปกรณ์ไฟฟ้าที่จำเป็นอีกชนิดหนึ่ง เพราะให้ความสะดวก สามารถรีดผ้าให้เรียบน่าสวมใส่ มีราคาไม่แพง แต่ก็เป็นเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ใช้ไฟเปลืองมากชนิดหนึ่ง คือ ใช้ไฟถึง 750 - 1,200 วัตต์ เตารีดแบ่งเป็น 2 ประเภท คือ เตารีดไฟฟ้าอัตโนมัติ และเตารีดไฟฟ้าอัตโนมันแบบไอน้อ ซึ่งเป็นเตารีดที่พัฒนาขึ้นมาเพื่อสะดวกในการที่ไม่ต้องพรมน้ำก่อนรีดผ้า
ในปัจจุบันนี้ นิยมใช้เตารีดไฟฟ้าทั้ง 2 แบบ เตารีดไฟฟ้าจะมีปุ่มสำหรับปรับอุณหภูมิความร้อนให้เหมาะสมกับการใช้งานได้ โดยผู้ใช้สามารถจะปรับความร้อนให้มากหรือน้อยตามต้องการ เมื่ออุณหภูมิความร้อนถึงเกณฑ์กำหนดอุปกรณ์อัตโนมัติก็จะตัดทันที
การใช้เตารีดให้ประหยัดไฟฟ้า ทำได้โดย ตั้งปุ่มปรับความร้อนให้เหมาะสมกับชนิดของผ้าที่จะรีด การรีดผ้าแต่ละครั้งควรรวบรวมผ้าที่จะรีดไว้ให้มีปริมาณมากพอสมควร ไม่พรมน้ำจนมากเกินไปทำให้เสียความร้อนในการรีดมากขึ้น ควรดึงปล๊กออกเพื่อตัดกระแสไฟฟ้าของเตารีดออกก่อนเสร็จสิ้นการรีด ความร้อนที่เหลืออยู่ในเตารีดยังสามารถรีดต่อไปได้อีกประมาณ 2 - 3 นาที
ข้อสังเกต

เตารีดไฟฟ้า 750 วัตต์ ใช้ 1 ชั่วโมงต่อวัน ต้องเสียค่าไฟฟ้าต่อเดือนเป็นเงิน 37 บาท
เตารีดไฟฟ้า 1,000 วัตต์ ใช้ 1 ชั่วโมงต่อวัน ค่าไฟฟ้าต่อเดือนเป็นเงิน 50 บาท

การป้องกันความร้อนที่จะผ่านเข้ามาภายในบ้าน ทำได้โดย
การใช้ฉนวนกันความร้อน เพื่อป้องกันความร้อนไม่ให้เข้ามาภายในอาคารโดยตรง
การติดตั้งฉนวนกันความร้อนบนเพดานช่วยป้องกันการนำความร้อนเข้าสู่อาการได้ถึง 30%
ห้องที่จะทำการติดตั้งเครื่องปรับอากาศควรได้รับการดัดแปลงที่เตรียมไว้เป็นกรณีพิเศษ
ใช้ม่าน มู่ลี่ หรือกันสาด หรือวัสดุอื่น ๆ ที่จะช่วยป้องกันความร้อนจากแสงอาทิตย์
การปลูกต้นไม้รอบ ๆ บ้านก็เป็นอีกวิธีที่จะช่วยลดความร้อนจากแสงอาทิตย์ได้
เมื่อต้องการสร้างบ้านใหม่ หรือซ่อมแซมบางส่วน ควรศึกษาเพื่หาทางออกในกากรแก้ปัญหาเรื่องความร้อนที่จะเข้าสู่ตัวอาคาร เช่น หลังคาบ้าน ควรใช้สีอ่อน เพื่ป้องกันการสะสมความร้อนในบริเวณเพดานใต้หลังคา การใช้หน้าต่างที่เป็นกระจก ควรใช้กระจกหน้าต่างแบบ (Low E - Glazings) ซึ่งยอมให้แสงผ่านเข้าแต่จะกันรังสีความร้อนไม่ให้เข้าไปได้
ซ่อมแซมส่วนที่มีรอยชำรุด รอยแตกแยกที่ฝาผนังหรือประตูควรซ่อมแซมให้เรียบร้อย เพื่อป้องกันความร้อนที่จะเข้ามา และป้องกันความเย็นไม่ให้ไหลสู่ภายนอก
เครื่องใช้ไฟฟ้าต่าง ๆ เช่น โคมไฟ ตู้เย็น ตู้อบ หรือ อุปกรณ์อื่น ๆ ที่จะทำให้มีความร้อนเกิดขึ้น ควรใช้ชนิดที่มีประสิทธิภาพเพื่อที่จะช่วยประหยัดค่าใช้จ่ายนอกจากนี้ยังช่วยลดความจำเป็นในการใช้เครื่องปรับอากาศด้วย
การถ่ายเทอากาศโดยใช้พัดลมหรือลมจากธรรมชาติสามารถทำให้ห้องเย็นขึ้น
การใช้พัดลมเพดาน หรือตั้งโต๊ะ ประหยัดพลังงานมากกว่าใช้เครื่องปรับอากาศประมาณ 10 - 20 เท่า

เครื่องปรับอากาศ
ภาพรวมของการใช้พลังงานไฟฟ้าในประเทศไทย แบ่งเป็น 3 ส่วนคือ ร้อยละ 40 อยู่ในภาคอุตสาหกรรม ร้อยละ 35 อยู่ในภาคธุรกิจ และอีกร้อยละ 25 อยู่ในภาพที่อยู่อาศัย ตัวเลจค่าใช้จ่ายด้านพลังงานไฟฟ้าที่เป็นจริงในทุกวันนี้ กว่าร้อยละ 50 ของพลังงานที่สูญเสียไปนั้น มาจากเครื่องปรับอากาศ (Air Conditioner)
คงไม่ปฏิเสธความสะดวกสบายที่ได้รับจากเครื่องปรับอากาศเพราะปัจจุบันอาคารเกือบทุกแห่งออกแบบให้ต้องพึ่งพาเครื่องปรับอากาศเป็นหลัก รวมทั้งภาคที่อยู่อาศัย ในสังคมทุกวันนี้จึงหนีไม่พ้นที่จะต้องมีอุปกรณ์ที่กินพลังงานไฟฟ้ามากที่สุดในบรรดาเครื่องใช้ไฟฟ้าทั่งหมด
ความต้องการใช้เครื่องปรับปากาศภายในประเทศ เพิ่มขึ้นประมาณปีละ 400,000 เครื่อง ถ้าเฉลี่ยความต้องการไฟฟ้าที่เครื่องปรับอากาศจะใช้ประมาณ 1,500 วัตต์ต่อเครื่อง หากทุกเครื่องเปิดใช้พร้อมกันในช่วงที่มีความต้องการใช้ไฟฟ้าสูงสุดของระบบ เพื่อสนองความต้องการของเครื่องปรับปาดาศอย่างเดียว กฟผ. จะต้องสร้างโรงไฟฟ้าเพิ่มขึ้นเฉพาะกรณีนี้ถึงปีละ 600 เมกะวัตต์ หรือเทียบได้กับโรงไฟฟ้าแม่เมาะขนาด 300 เมกะวัตต์ 2 โรง
เครื่องปรับอากาศเป็นอุปกาณ์ไฟฟ้าที่ใช้ไฟฟ้ามากที่สุดในบ้านนอกจากจะหาซื้อมาในราคาแพงแล้วการใช้เครื่องปรับอากาศยังเพิ่มค่าใช้จ่ายสำหรับค่าไฟขึ้นอีกมาก้วยการใช้เครื่องปรับอากาศที่มีคุณภาพไม่ดียังเป็นการเพิ่มค่าใช้จ่ายโดยไม่จำเป็น ควรเลือกใช้เครื่องปรับอากาศที่มีประสิทธิภาพสูงและมีขนาดที่เหมาะสมกับห้องด้วย
เลือกเครื่องปรับอากาศให้ดูขนาดของห้อง สิ่งสำคัญที่สุดที่จะต้องคำนึงถึงเมื่อเลือกซื้อเครื่องปรับอากาศ คือ เครื่องปรับอากาศที่มีขนาดเมาะสมกับห้องที่จะติดตั้ง



ตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ กับขนาดของเครื่องปรับอากาศ
พื้นที่ห้องตามความสูงปกติ

พื้นที่ห้องตามความสูงปกติ
(ตารางเมตร)
ขนาดเครื่องปรับอากาศ
(บีทียู/ชั่วโมง)
13-14
8,000
16-17
10,000
20
12,000
23-24
14,000
30
18,000
40
24,000

ใช้เครื่องปรับอากาศอย่างไร ให้ประหยัดไฟ การใช้เครื่องปรับอากาศอย่างถูกวิธี ปฏิบัติตามเกร็ดเล็ก ๆ น้อย ทำให้เครื่องปรับอากาศทำงานอย่างประหยัดงาน โดยเริ่มจากการติดตั้งเพื่อให้เครื่องปรับอากาศทำงานอย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด ควรจะติดตั้งชุดระบายความร้อน (Condensing Unit) ไว้ในตำแหน่งที่เย็น มีร่มเงา ไม่ถูกกับแสงแดดโดยตรง และอยู่ในที่ที่ระบายอากาศได้ดี หมั่นบำรุงรักษาความสะอาดแผ่นกรองฝุ่นทุก ๆ เดือน หรือมากกว่าถ้าจำเป็น นอกจากนี้ควรมีการตรวจเช็คล้างทำความสะอาดปีละครั้ง โดยช่างที่ชำนาญ และตรวจเช็คสภาพครั้งใหญ่ 2 - 3 ปี ต่อครั้ง เพื่อเป็นการยืดอายุการใช้งานของเครื่องปรับอากาศด้วย
ในการใช้เครื่องปรับอากาศควรใช้เมื่อคิดว่ามีความจำเป็นต้องใช้ถ้าต้องออกจากห้องเป็นเวลามากกว่า 1 ชั่วโมง ควรปิดเครื่องปรับอากาศก่อน และต้องตรวจดูให้แน่ใจด้วยว่าหน้าต่างและประตูได้ปิดสนิทขณะที่เครื่องปรับอากาศทำงานอยู่
การตั้งอุณหภูมิให้สูงที่สุดเท่าที่จะทำได้ เพราะทุกองศาของอุณหภูมิที่เพิ่มขึ้นนั้น หมายถึง การประหยัดค่าใช้จ่ายลงได้ 3 - 5 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งอุณหภูมิที่เหมาะสมควรอยู่ที 25 - 26 องศาเซลเซียส และใช้พัดลมช่วยในการถ่ายเทอากาศให้รู้สึกสบายขึ้น ลดความชื้นภายในห้องให้ต่ำที่สุด และไม่ควรปลูกต้นไม้หรือตากผ้าภายในห้องที่ใช้เครื่องปรับอากาศ
ลดการใช้เครื่องปรับอากาศให้มากที่สุด สามารถทำได้ การใช้เครื่องปรับอากาศให้ประหยัดเงินประหยัดพลังงานและช่วยรักษาสิ่งแวดล้อม ทำได้โดยการใช้เครื่องปรับอากาศให้น้อยที่สุดเท่าที่จะทำได้ ในการลดการใช้เครื่องปรับอากาศก็สามารถทำได้โดยการป้องกันความร้อนให้เข้ามาภายในบ้านให้น้อยที่สุด และนำความร้อนจากภายในให้ออกสู่ภายนอกให้มากที่สุด ซึ่งจะทำให้ภายในบ้านไม่ร้อน ลดการใช้เครื่องปรับอากาศลงได้


ลักษณะตู้เย็นประหยัดพลังงานเป็นอย่างไร
ต้องเป็นตู้เย็นที่มีผนังหนาช่วยป้องกันควมร้อนจากภายนอกมิให้เข้าสู่ตู้เย็นได้ ทำให้อาหารที่แช่เย็นได้ง่ายและใช้ไฟฟ้าน้อยกว่ามาก
ตู้เย็นที่มีช่องแช่แข็งอยู่ด้านข้าง จะใช้ไฟฟ้าได้มากกว่าหนึ่งในสามของรุ่นที่มีช่องแช่แข็งอยู่ด้านบนของเครื่อง และตู้เย็นที่มี 2 ประตู จะกินไฟมากกว่าตู้เย็นประตูเดียวที่มีขนาดเท่ากัน เนื่องจากต้องใช้การตั้งอุณหภูมิที่ตัวเลขต่ำ ทำให้ไม่ค่อยเย็นหรือถ้าตั้งที่เลขสูงจะเย็นมากจึงควรตั้งอุณหภูมิความเย็นให้พอเหมาะ อุณหภูมิภายในตู้เย็นควรจะอยู่ระหว่าง 3 - 6 องศาเซลเซียส ส่วนในช่องแช่แข็งควรมีอุณหภูมิระหว่างลบ 15 - 18 องศาเซลเซียส ถ้าระดับอุณหภูมิอยู่นอกเหนือจากเกณฑ์ที่กำหนดนี้ต้องปรับที่ควบคุมอุณหภูมิใหม่ เพราะถ้าตั้งอุณหภูมิตู้เย็นไว้เย็นกว่าที่กำหนดไว้ 1 องศา การใช้ไฟฟ้าจะเพิ่มขึ้นถึง 25 เปอร์เซ็นต์
หมั่นทำความสะอาดแผงระบายความร้อน ที่อยู่ด้านหลังตู้เย็นเมื่อตู้เย็นใช้ไปนาน ๆ มักจะมีฝุ่นละอองมาเกาะติดตามแผงระบายความร้อนนี้มากเป็นเหตุให้การระบายความร้อนไม่ดีเครื่องคอมเพรสเซอร์จะทำงานมากขึ้นทำให้ใช้ไฟฟ้ามากขึ้นด้วย
ตรวจสอบยางขอบประตู อย่างปล่อยให้มีรอยรั่วหรือเสื่อมสภาพ ควรเปลี่ยนแผ่นยางใหม่ทันที ยางขอบประตูตู้เย็นที่ชำรุดและเสื่อมสภาพจะทำให้อากาศร้อนภายนอกเข้าไปภายในตู้เย็น ทำให้คอมเพรสเซอร์ทำงานหนัก นอกจากนี้ความขึ้นในอากาศยังเข้าไปในตู้เย็นด้วย จะทำให้แผงเย็นหรือช่องทำน้ำแข็งเกาะเร็วขึ้นดังนั้นฝาตู้เย็นควรจะปิดให้สนิทอย่าให้มีรอยรั่ว ซึ่งสามารถทดสอบได้โดยใช้กระดาษสอดระหว่างขอบยางกับขอบตัวตู้เย็นเลื่อนกระดาษไปโดยรอบประตู ถ้าส่วนใดเลื่อนได้สะดวกไม่ฝืดแสดงว่าส่วนนั้นปิดไม่สนิทจึงควรเปลี่ยนขอบยางตู้เย็นใหม่ได้แล้ว
อย่าเปิดตู้เย็นบ่อย ๆ หรือใส่ของร้อนในตู้เย็นจะทำให้ความร้อนเข้าไปภายในตู้ ทำให้ภายในตู้สูญเสียความเย็นทำให้ตู้เย็นต้องเริ่มทำงานสะสมความเย็นใหม่ นอกจากนี้จะทำให้ภายในห้องร้อนขึ้น เนื่องจากคอมเพรสเซอร์จะทำงานมากขึ้น เพื่อระบายความร้อนออกทางแผงระบายความร้อนหลังตู้เย็น
ละลายน้ำเข็งอย่างสม่ำเสมอ ด้วยการถอดปลั๊กตู้เย็นที่ใช้เป็นครั้งคราว จะช่วยประหยัดได้หลายร้อยบาทในแต่ละปี หรือถ้าตู้เย็นที่มีปุ่มละลายน้ำแข็งก็กดปุ่มนั้นได้ทันที เมื่อน้ำแข็งละลายหมดแล้วปุ่มกดนี้จะดีดตัวให้คอมเพรสเซอร์ทำงานต่อไป อย่าใช้ของแข็งหรือของมีคมงัดหรือแกะน้ำแข็งอาจทำให้แผงความเย็นชำรุดเสียหายได้
ตรวจสอบตู้เย็นสม่ำเสมอ เมื่อตู้เย็นทำงานไปได้ระยะหนึ่งผู้ใช้จำเป็นต้องสังเกตและดูแลตู้เย็น อย่างปล่อยให้คอมเพรสเซอร์ทำงานไม่เต็มที่ ซึ่งอาจมีสาเหตุจากน้ำยาน้อย ลิ้นรั่ว เมื่อเครื่องเดินตลอดเวลาแต่ไม่ค่อยมีความเย็น สามารถทดสอบได้โดยใช้มือแตะที่แผงร้อนว่าอุ่นหรือร้อนไม่ทั่วแผงร้อนแสดงว่า เครื่องทำงานไม่เต็มที่ถ้าปล่อยทิ้งไว้จะทำให้สิ้นเปลืองพลังงานไฟฟ้าโดยไม่จำเป็น
นอกจากนี้อย่าให้ตู้เย็นมีกระแสไฟฟ้ารั่วลงดิน ในกรณีที่ตู้เย็นมีการต่อสายลงดินเพื่อป้องกันอันตรายแก่บุคคล ถ้ามีไฟฟ้ารั่วลงดินจะทำให้ตู้เย็นกินไฟฟ้ามากกว่าปกติ เพราะนอกจากไฟฟ้าที่เข้าคอมเพรสเซอร์ตามปกติแล้ว ยังจะมีไฟฟ้าส่วนที่รั่วลงดินเพิ่มขึ้นอีก เราสามารถทดสอบได้โดยการปิดสวิตซ์ไฟทุกชนิดที่ใช้ไฟฟ้าอยู่ ยกเว้น ตู้เย็น แล้วค่อย ๆ หมุนสวิตซ์ควบคุมอุณหภูมิกลับมาทางเลขต่ำจนคอมเพรสเซอร์หยุดทำงานหรือสวิตซ์ปิด แล้วไปสังเกตที่มิเตอร์มาตรวัดไฟฟ้า ถ้าพบว่าจานมาตรวัดยังหมุนทำงานอยู่ แสดงว่าตู้เย็นมีกระแสไฟฟ้ารั่วลงดิน ในกรณีนี้จะเกิดเฉพาะผู้ที่ต่อสายจากตู้เย็นลงดินเท่านั้น การทดสอบด้วยวิธีนี้จะไม่ได้ผลหากตู้เย็นตู้นั้นไม่ได้ต่อสายลงดิน หรือถ้าการทดสอบทำไม่สะดวกนักควรให้ช่างมาตรวจสอบจะดีที่สุด

อุปกรณ์เครื่องใช้ไฟฟ้าใช้อย่างไรให้ประหยัด
สิ่งที่จะทำให้เกิดการประหยัดพลังงานให้ได้ผลอย่างจริงจังนั้น คือ ความตั้งใจ และจริงจังต่อตนเอง ภายใต้ "จิตสำนึก" ที่ต้องคิดเสมอว่า "จะประหยัดพลังงานและเงินค่าไฟฟ้า" โดยอาศัยหลักการเบื้องต้นของการประหยัดไฟฟ้า คือ เลือกใช้เครื่องไฟฟ้าให้เหมาะสมกับสภาพความเป็นอยู่ความจำเป็นและจำนวนสมาชิก เพื่อจะได้ใช้เครื่องใช้ไฟฟ้าให้เกิดประโยชน์อย่างแท้จริง พร้อมทั้งตรวจสอบเครื่องใช้ไฟฟ้าที่มีอยู่ ให้อยู่ในสภาพดีอยู่เสมอและดูว่าเครื่องใช้ไฟฟ้าแต่ละชนิดกินไฟมากน้อยเท่าใดเพื่อที่จะได้ใช้ให้ถูกต้อง

วงจรไฟฟ้า

วงจรไฟฟ้าคืออะไร
ในวงจรไฟฟ้าทั่ว ๆ ไปจะมีสิ่งที่มาเกี่ยวข้อง 3 อย่าง คือ กระแสไฟฟ้า แรงดันไฟฟ้า และความต้านทานไฟฟ้า กระแสไฟฟ้าจะไหลไปได้หรือเคลื่อนที่ไปได้จะต้องมีตัวนำหรือสายไฟฟ้า และจะต้องมีกำลังดันหรือแรงเคลื่อนไฟฟ้า(V) ดันให้กระแสไฟฟ้าไหลไป จะมากหรือน้อยขึ้นอยู่กับเครื่องกำเนิดไฟฟ้า ตัวนำ และความต้านทานประกอบกัน วงจรไฟฟ้า คือ ทางเดินของไฟฟ้าเป็นวง ไฟฟ้าจะไหลไปตามตัวนำหรือสายไฟจนกระทั่งไหลกลับตามสายมายัง เครื่องกำเนิดไฟฟ้าเป็นวงครบรอบ คือ ออกจากเครื่องกำเนิดแล้วกลับมายังเครื่องกำเนิดอีกครั้งหนึ่ง จนครบ 1 เที่ยว เรียกว่า 1 วงจร หรือ 1 Cycle วงจรไฟฟ้า แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ 1. วงจรปิด (Closed Circuit) จากรูปจะเห็น กระแสไฟฟ้าไหลออกจากแหล่งกำเนิด ผ่านไปตามสายไฟ แล้วผ่าน สวิทช์ไฟซี่งแตะกันอยู่ (ภาษาพูดว่าเปิดไฟ) แล้วกระแสไฟฟ้าไหลต่อไปผ่านดวงไฟ แล้วไหลกลับมาที่แหล่งกำเนิดอีกจะ เห็นได้ว่ากระแสไฟฟ้าสามารถไหลผ่านได้ครบวงจร หลอดไฟจึงติด
2. วงจรเปิด (Open Circuit) ถ้าดูตามรูป วงจรเปิด ไฟจะไม่ติดเพราะว่า ไฟออกจากแหล่งกำเนิดก็จะไหลไปตาม สายพอไปถึงสวิทช์ซึ่งเปิดห่างออกจากกัน (ภาษาพูดว่าปิดสวิทช์) ไฟฟ้าก็จะผ่านไปไม่ได้ กระแสไฟฟ้าไม่สามารถจะไหล ผ่านให้ครบวงจรได้
วงจรไฟฟ้า เป็นการนำเอาสายไฟฟ้าหรือตัวนำไฟฟ้าที่เป็นเส้นทางเดินให้กระแสไฟฟ้าสามารถไหลผ่านต่อถึงกันได้นั้นเราเรียกว่า วงจรไฟฟ้า การเคลื่อนที่ของอิเล็กตรอนที่อยู่ภายในวงจรจะเริ่มจากแหล่งจ่ายไฟไปยังอุปกรณ์ไฟฟ้า
วงจรไฟฟ้าประกอบด้วยส่วนที่สำคัญ 4 ส่วนคือ
§ แหล่งกำเนิดไฟฟ้า หมายถึง แหล่งจ่ายไฟฟ้าไปยังวงจรไฟฟ้า เช่น แบบเตอรี่
§ ตัวนำไฟฟ้า หมายถึง สายไฟฟ้าหรือสื่อที่จะเป็นตัวนำให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านไปยังเครื่องใช้ไฟฟ้า ซึ่งต่อระหว่างแหล่งกำเนิดกับเครื่องใช้ไฟฟ้า
§ เครื่องใช้ไฟฟ้า หมายถึง เครื่องใช้ที่สามารถเปลี่ยนพลังงานไฟฟ้าให้เป็นพลังงานรูปอื่น ซี่งจะเรียกอีกอย่างหนึ่งว่า โหลด
§ สะพานไฟ (Cut out) หรือสวิทช์ (Switch) เป็นตัวตัดและต่อกระแสไฟฟ้า


วงจรไฟฟ้ากระแสตรง
การแสดงการต่อวงจรไฟฟ้าเบื้องต้นโดยการต่อแบตเตอรี่ต่อเข้ากับหลอดไฟ หลอดไฟฟ้าสว่างได้เพราะว่ากระแสไฟฟ้าสามารถไหลได้ตลอดทั้งวงจรไฟฟ้าและเมื่อหลอดไฟฟ้าดับก็เพราะว่ากระแสไฟฟ้าไม่สามารถไหลได้ตลอดทั้งวงจร เนื่องจากสวิตซ์เปิดวงจรไฟฟ้าอยู่นั่นเอง การต่อวงจรไฟฟ้ากระแสตรงต้องต่อขั้วไฟให้ถูกต้องเพราะอุปกรณ์ในวงจรดังกล่าวจะมีขั้วไฟดังแสดงในรูป
วงจรไฟฟ้ากระสลับ
การต่อวงจรไฟฟ้ากระแสสลับจะต้องต่ออุปกรณ์ได้โดยไม่คำนึงถึงขั้วไฟ






ระบบไฟฟ้า



ระบบไฟฟ้า หมายถึงลักษณะการส่งจ่ายกระแสไฟฟ้าจากแหล่งกำนิดไปยังผู้ใช้ไฟฟ้า ตามประเภทการใช้งาน โดยส่งจากสถานีไฟฟ้าผ่านสายไฟฟ้าแรงสูง สถานีไฟฟ้าย่อย หม้อแปลงแปลงไฟฟ้าให้ต่ำลง ไปยังบ้านพักอาศัย สำนักงาน หรือโรงงานอุตสาหกรรม
สำหรับกระแสไฟฟ้าที่ไหลเข้าสู่บ้านเรือนทั่วไปนั้นก็ใช้หลักการไหลแบบเดียวกัน คือ เริ่มจากเครื่องกำเนิดไฟฟ้า ณ โรงงานผลิตไฟฟ้า ผ่านกระแสไฟฟ้าแรงดันสูงมาตามสายไฟฟ้า (ซึ่งประกอบด้วยเส้นลวดอลูมิเนียมจำนวนมาก) มาจนกระทั่งถึงสถานีไฟฟ้าย่อย ซึ่งมีหม้อแปลงแรงดันไฟฟ้าให้สูงขี้นหรือต่ำลงได้ตามความต้องการใช้งาน ทั้งนี้เนื่องจากการส่งกระแสไฟฟ้าได้ผ่านมาตามสายไฟฟ้าในระยะทางไกล จะทำให้มีการสูญเสียแรงดันไฟฟ้าส่วนหนึ่ง เมื่อส่งไฟฟ้ามาถึงพื้นที่ที่ต้องการใช้ไฟฟ้าก็จะต้องลดแรงดันไฟฟ้าลงระดับหนึ่งเพื่อลดอันตราย เมื่อแปลงแรงดันไฟฟ้าให้พอเหมาะแล้วก็จะส่งตามสายไฟฟ้ามายังหม้อแปลงแรงดันไฟฟ้าที่ติดอยู่ตามเสาไฟฟ้าในแหล่งชุมชนนั้นๆ เพื่อแปลงแรงดันไฟฟ้าอีกครั้งก่อนส่งผ่านเข้าสู่อาคารบ้านเรือน เมื่อมีการใช้ไฟฟ้าจากกิจกรรมต่างๆ ในอาคารบ้านเรือนก็จะไหลกลับไปตามสายไฟฟ้าอีกเส้นหนึ่งสู่แหล่งกำเนิดอีกครั้ง ซึ่งเท่ากับว่าเป็นการครบวงจรการไหลของกระแสไฟฟ้า
ระบบไฟฟ้าที่การไฟฟ้าฯส่งจ่ายไปยังบ้านเรือนทั่วไปเรียกว่าระบบไฟฟ้าแรงดันต่ำ ซึ่งแบ่งออกเป็น 2 ระบบด้วยกัน ในการใช้งานนั้นการไฟฟ้าฯจะพิจารณาให้เหมาะสมตามความต้องการของผู้ใช้ไฟฟ้าว่าจะใช้ระบบใด โดยพิจารณาจากปัจจัยสำคัญ 2 ประการ คือ ปริมาณการใช้ไฟฟ้า ประเภทและจำนวนของเครื่องใช้ไฟฟ้าที่ใช้ภายในบ้าน

ระบบไฟฟ้าแบ่งออกได้เป็น 2 ระบบ ดังนี้

1. ระบบไฟฟ้า 1 เฟส คือระบบไฟฟ้าที่มีสายไฟฟ้าจำนวน 2 เส้น เส้นที่มีไฟเรียกว่าสายไฟหรือสายเฟส หรือสายไลน์ เขียนแทนด้วยตัวอักษร L (Line) เส้นที่ไม่มีไฟเรียกว่าสายนิวทรอล หรือสายศูนย์ เขียนแทนด้วยตัวอักษร N (Neutral) ทดสอบได้โดยใช้ไขควงวัดไฟ เมื่อใช้ไขควงวัดไฟแตะสายเฟส หรือสายไฟ หรือสายไลน์ หลอดไฟเรืองแสงที่อยู่ภายไขควงจะติด สำหรับสายนิวทรอล หรือสายศูนย์ จะไม่ติด แรงดันไฟฟ้าที่ใช้มีขนาด 220 โวลท์ (Volt) ใช้สำหรับบ้านพักอาศัยทั่วไปที่มีการใช้ไฟฟ้าไม่มากนัก
2. ระบบไฟฟ้า 3 เฟส คือระบบไฟฟ้าที่มีสายเส้นไฟจำนวน 3 เส้น และสายนิวทรอล 1 เส้น จึงมีสายรวม 4 เส้น ระบบไฟฟ้า 3 เฟส สามารถต่อใช้งานเป็นระบบไฟฟ้า 1 เฟส ได้ โดยการต่อจากเฟสใดเฟสหนึ่งและสายนิวทรอลอีกเส้นหนึ่ง แรงดันไฟฟ้าระหว่างสายเฟสเส้นใดเส้นหนึ่งกับสายนิวทรอลมีค่า 220 โวลท์ และแรงดันไฟฟ้าระหว่างสายเฟสด้วยกันมีค่า 380 โวลท์ ระบบนี้จึงเรียกว่าระบบไฟฟ้า 3 เฟส 4 สาย 220/380 โวลท์ ระบบนี้มีข้อดีคือสามารถจ่ายกระแสไฟฟ้าได้มากกว่าระบบ 1 เฟส ถึง 3 เท่า จึงเหมาะสมกับสถานที่ที่ต้องการใช้ไฟฟ้ามากๆ เช่น อาคารพาณิชย์ โรงงานอุตสาหกรรมขนาดเล็ก เป็นต้น

เรียบเรียงจากหนังสือคู่มือช่างไฟฟ้าในบ้าน

ระบบไฟฟ้ากระแสตรง

ระบบไฟฟ้ากระแสตรง ขนาด 48 โวลท์
ของระบบสื่อสารการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย
เรียบเรียงโดย
แผนก ติดตั้งบำรุงรักษาระบบเพาเวอร์ซัพพพลาย 48 โวล์ดีซี
กอง ระบบสื่อสารบริการ ฝ่ายระบบสื่อสาร

Case No1. 48V.DC Distribution Board หรือ Load Center
องค์ประกอบที่สำคัญในระบบไฟฟ้ากระแสตรงจะประกอบไปด้วย ชาร์จเจอร์ (Charger 48V.DC) แบตเตอรี่ (Battery 48V.DC) ดรอบเปอร์ (Dropper) และ 48V.DC Distribution Board หรือ Load Center ดังนั้น หากระบบเพาเวอร์ซัพพลาย 48 โวลท์ดีซี ไม่สามารถทำงานได้ จะส่งผลทำให้อุปกรณ์สื่อสารทั้งหมดขัดข้องทันที เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในระบบและการบำรุงรักษาอุปกรณ์ และลดความเสี่ยงที่จะเกิดอุบัติเหตุในขณะปฏิบัติงานการเชื่อมต่อ การบำรุงรักษาและการปลดอุปกรณ์ออกจากระบบ จึงได้ทำการปรับปรุงและพัฒนาอุปกรณ์ 48V.DC Distribution Board เพื่อใช้งานในระบบเพาเวอร์ซัพพลาย 48 โวลท์ดีซี ที่ใช้งานในระบบสื่อสารของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย





รูปที่ 1 องค์ประกอบทั่วไปของระบบไฟฟ้ากระแสตรงที่ใช้งานใน กฟผ.



48V.DC Distribution Board หรือ Load Center
48V.DC Distribution Board หรือ Load Center หมายถึง อุปกรณ์ควบคุมการเชื่อมต่อและการจ่ายกระแสไฟฟ้า ให้กับอุปกรณ์สื่อสารต่างๆ ของ กฟผ. และหน่วยงานอื่นที่ร่วมใช้ คือ ตู้ศูนย์กลางการจ่ายไฟฟ้ากระแสตรงให้กับอุปกรณ์สื่อสารต่างๆ ภายในตู้ประกอบด้วย จุดเชื่อมสาย (Main Bus), จุดเชื่อมสายดิน (Ground Bus), และเซอร์กิตเบรกเกอร์ (Circuit Breaker) ขนาดต่างๆ ที่ใช้งานในระบบมีขนาดตั้งแต่ พิกัดกระแส 16 แอมป์, 30 แอมป์, 45 แอมป์, จนถึงขนาด 60 แอมป์ เซอร์กิตเบรกเกอร์นี้ทำหน้าที่เป็นสวิทซ์ไฟฟ้าตัดและเชื่อมต่อระหว่างอุปกรณ์กับตู้ เมื่อเกิดเหตุไฟฟ้าลัดวงจรที่อุปกรณ์นั้น เซอร์กิตเบรกเกอร์ ก็จะทำการตัดไฟฟ้าของอุปกรณ์ออกทันที




รูปที่ 2 องค์ประกอบทั่วไปของ Charger และ 48V.DC Distribution Board

ระบบเพาเวอร์ซัพพลาย 48 โวลท์ดีซี มีการการตรวจซ่อมและบำรุงรักษาเชิงป้องกัน เพื่อตรวจเช็คสภาพการทำงานของระบบ เพื่อให้ระบบใช้งานได้ตามปกติ ในระหว่างการปฏิบัติงาน จะต้องมีการปลดแบตเตอรี่เดิมและ Charger (เครื่องชาร์จประจุไฟฟ้า) ออกจากระบบ แล้วนำแบตเตอรี่โมบาย ( Battery Mobile ) นำเข้าใช้งานแทน เพื่อให้ระบบสื่อสารสามารถใช้งานได้ตามปกติ และเพื่อเป็นการป้องกันอุบัติเหตุที่อาจจะเกิดขึ้น ในระหว่างขณะที่ปฏิบัติงาน จากนั้นจึงทำการทดสอบการทำงานของชาจเจอร์ (Charger) พร้อมบันทึกผลค่าต่างๆ ถ้ามีการคลาดเคลื่อนจากค่ามาตรฐานที่กำหนดไว้ก็จะทำการปรับค่าให้ตรงตามมาตรฐาน หรือมีอุปกรณ์ที่เสียก็จะทำการเปลี่ยน ในส่วนของแบตเตอรี่ จะมีการทำการทดสอบการจ่ายกระแสไฟฟ้าให้กับอุปกรณ์ทดสอบ (Discharge Test ) เพื่อตรวจสอบความสามารถในการเก็บประจุไฟฟ้าในแบตเตอรี่ การปลดอุปกรณ์ Charger and Battery ออกจากระบบเพื่อทำการบำรุงรักษา ในขณะที่ระบบสื่อสารพร้อมอุปกรณ์สื่อสารกำลังใช้งาน จะเกิดความเสี่ยงที่จะทำให้มีโอกาสเกิดอุบัติเหตุ ที่ 48V.DC Distribution Board และจุดเชื่อมต่อของขั้วบวก ( + ) และตำแหน่งขั้ว ( - ) สรุปได้มีดังนี้
1. ตำแหน่งขั้วบวก ( + ) และขั้วลบ ( - ) ของแบตเตอรี่ที่ Charger อยู่ใกล้ชิดกัน
2. ไม่มีส่วนป้องกัน ( Cover) ตำแหน่งขั้วบวก ( + ) และขั้วลบ ( - ) ของแบตเตอรี่ ที่ Charger
3. อุปกรณ์ Charger ไม่ได้มีการทำจุดเชื่อมต่อสำรองไว้
4. มี Charger สำรองต่ออยู่ในระบบ
ความเสียงที่อาจจะเกิดขึ้นดังกล่าวในการปฏิบัติงาน หน่วยงานจึงหาแนวทางปรับปรุงและพัฒนาอุปกรณ์ขึ้น เพื่อช่วยป้องกันโอกาสที่เกิดอุบัติเหตุดังกล่าวขึ้น และเพื่อให้สามารถใช้งานได้สะดวก มีความปลอดภัย พร้อมยังป้องกันการอุปกรณ์สื่อสารหลุดออกจากระบบ และยังสามารถขยายจุดเชื่อมต่อให้กับระบบเมื่อมีการเพิ่มอุปกรณ์สื่อสารเกิดขึ้น หรือหน่วยงานบุคคลภายนอกมาร่วมใช้งานได้ทันที อุปกรณ์ที่ได้รับการพัฒนาและปรับปรุง ดังกล่าว เรียกว่า 48 V.DC Distribution Board and 48V.DC Main Bus (ดังรูปที่ 5)



48 V.DC Distribution Board and 48V.DC Main Bus ที่ได้พัฒนาและปรับปรุงขึ้นมาใหม่ การใช้งาน Point Rectifier (ไฟฟ้ากระแสตรงที่ออกมาจากเครื่องชาร์จประจุ) จะถูกแยกออกเป็นอิสระซึ้งกันและกันกับ Point Load (ไฟฟ้ากระแสตรงที่จะนำออกไปใช้งาน) และจะเชื่อมต่อกันที่ 48V.DC Main Bus ก่อนจะนำออกไปเพื่อใช้งาน


สรุป
ระบบไฟฟ้ากระแสตรง 48 โวลท์ดีซี เป็นระบบไฟฟ้าหลักที่จ่ายอุปกรณ์สื่อสาร จึงถือได้ว่าเป็นหัวใจหลักของอุปกรณ์สื่อสาร การทำงานของผู้ปฏิบัติงานได้ยึดถือตามนโยบายของฝ่ายระบบเรื่องความปลอดภัยและการพัฒนาให้ระบบสื่อสารมีประสิทธิภาพให้มากที่สุด หากเกิดเหตุขัดข้อง ระบบสำรองจะต้องทำงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ระบบสื่อสารต้องทำงานได้อย่างปกติ ฝ่ายระบบสื่อสารได้พัฒนาปรับปรุงอุปกรณ์สื่อสารในส่วนต่างๆที่เกี่ยวข้อง เพื่อการปฏิบัติงานอย่างปลอดภัย สะดวกและลดความเสี่ยงในการทำงาน และความผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นได้

เอกสารอ้างอิง
1. คู่มือการใช้งาน OPERATING INSTRUCTION 48V.DC 25/50/75 A.
Battery and Charger Model CG-075
แผนกช่องสัญญาณมัลติเพล็กซ์
กองระบบสื่อสาร
ฝ่ายระบบสื่อสาร
2. คู่มือ BATTERY CHARGER Model 48V.DC…XA
ห้องทดสอบอิเลคทรอนิคส์
กองระบบสื่อสาร
ฝ่ายบำรุงรักษาไฟฟ้า