วันจันทร์ที่ 24 สิงหาคม พ.ศ. 2552

ตัวต้านทานไฟฟ้ากระแสสลับ

ความต้านทานไฟฟ้า คือ หน่วยวัดปริมาณความต้านทานกระแสไฟฟ้าของวัตถุ วัตถุที่มีความต้านทานต่ำจะยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านได้ง่าย เรียกว่า ตัวนำไฟฟ้า ในขณะที่ฉนวนไฟฟ้ามีความต้านทานสูงมากและไม่ยอมให้กระแสไฟฟ้าไหลผ่านค่าความต้านทานไฟฟ้า ใช้สัญลักษณ์ R มีหน่วยเป็นโอห์ม (Ω) มีค่าเป็นส่วนกลับของ ความนำไฟฟ้า (Conductivity) หน่วยซีเมนส์กฎของโอห์มเขียน ความสัมพันธ์ระหว่าง แรงดันไฟฟ้า (V) , กระแสไฟฟ้า (I) และความต้านทาน (R) ไว้ดังนี้: R = V / I จากการวัดกับวัสดุต่างๆ ที่สภาวะต่างๆ กัน มักปรากฏว่าความต้านทาน ไม่ขึ้นกับปริมาณกระแสไฟฟ้า หรือ แรงดันไฟฟ้า กล่าวอีกนัยหนึ่งคือ มีค่าความต้านทานคงที่ความต้านทานไฟฟ้ากระแสสลับเมื่อไฟฟ้ากระแสสลับไหลผ่านตัวนำ กระแสไฟฟ้าจะมีมากบริเวณผิวเทียบกับกึ่งกลางตัวนำ เรียกปรากฏการณ์ดังกล่าวว่า Skin effect และยึ่งความถี่กระแสไฟฟ้าสูงขึ้น ตัวนำไฟฟ้าจะมีความต้านทานมากขึ้นจากวิกิพีเดีย สารานุกรมเสรี
โดย: วัฒนะชัย พรมสี [21 ส.ค. 51 11:10] ( IP A:119.42.66.95 X: )

ความคิดเห็นที่ 2 ขดลวดตัวนำในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ ขดลวดตัวนำมีลักษณะเป็นขดลวดไฟฟ้าแบบขดโซลีนอยด์ที่เคยเรียนมาแล้ว ดังรูป รูปที่ 1 ขดลวดโซลีนอยด์ เมื่อกระแสไฟฟ้าผ่านขดลวดตัวนำก็จะเกิดสนามแม่เหล็กขึ้นในขดลวดตัวนำ ตามสูตร ถ้าในวงจรมีกระแสไฟฟ้าเปลี่ยนแปลงก็จะมีผลทำให้สนามแม่เหล็กเปลี่ยนแปลงด้วย ทำให้เกิดแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำ ตามสูตร จะเห็นได้ว่า เมื่อมีกระแสไฟฟ้าเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในวงจร ก็จะมีกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำเกิดขึ้นในวงจรโดยแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำจะเป็นปฏิภาคโดยตรงกับค่าลบของอัตราการเปลี่ยนค่ากระแสไฟฟ้านั้น เกิดค่าคงที่ของขดลวดขึ้น L เรียกว่าค่าความเหนี่ยวนำไฟฟ้าของขดลวดตัวนำ (Self inductance of an inductor) ถ้ากระแสไฟฟ้าเพิ่มขึ้นก็จะมีค่าแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำต่อต้านการเพิ่มหรือมีการนำพลังงานไฟฟ้าไปเก็บไว้ในรูปของพลังงานแม่เหล็กที่เพิ่มขึ้นนั่นเอง ในทางตรงกันข้ามถ้ากระแสไฟฟ้าลดลงก็จะเกิดแรงเคลื่อรไฟฟ้าเหนี่ยวนำในทิศต่อต้านการลดหรือเสริมทิศของกระแสไฟฟ้านั่นเอง ดังรูป รูปที่ 2 ขดลวดตัวนำกับการเปลี่ยนกระแสไฟฟ้า ในวงจรไฟฟ้ากระแสตรงสม่ำเสมอ ขดลวดตัวนำจะทำหน้าที่เป็นตัวต้านทานตัวหนึ่งเท่านั้น แต่ในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ ขดลวดตัวนำจะทำหน้าที่เป็นตัวต้านทานและเครื่องมือในการเก็บพลังงาน ในกรณีที่ถือว่าเป็นขดลวดตัวนำที่ไม่มีความต้านทานจะให้ผลต่อวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ ดงัรูป รูปที่ 3 ขดลวดตัวนำในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ เขียนสมการเปลี่ยนแปลงได้ดังนี้ ตามผลที่เกิดขึ้นจะเห็นได้ว่า เฟสของกระแสไฟฟ้าและความต่างศักย์ไฟฟ้าไม่โตรงกันโดยความต่างศักย์ไฟฟ้ามีเฟสนำหน้ากระแสไฟฟ้าเป็นมุม 90 ํ หรือ เรเดียน และเกิดความต้านทานไฟฟ้ากระแสสลับตามสูตร ซึ่งจะเห็นได้ว่าถ้าเป็นไฟฟ้ากระแสตรงสม่ำเสมอ ค่าความถี่จะเป็นศูนย์ทำให้ค่า เป็นศูนย์ด้วย ในวงจรไฟฟ้ากระแสตรงจึงถือว่าขดลวดตัวนำทำหน้าที่เป็นตัวต้านทานตามปกติเท่านั้น ค่าความต้านทานไฟฟ้ากระแสสลับ นี้เรียกว่า ความต้านทานเชิงการเหนี่ยวนำ http://www.sk.th.gs/web-s/k/current/ler.html
โดย: นิรันทร์ สาแช [21 ส.ค. 51 11:13] ( IP A:119.42.66.95 X: )

ความคิดเห็นที่ 3 ความต้านทานไฟฟ้ากระแสสลับเมื่อไฟฟ้ากระแสสลับไหลผ่านตัวนำ กระแสไฟฟ้าจะมีมากบริเวณผิวเทียบกับกึ่งกลางตัวนำ เรียกปรากฏการณ์ดังกล่าวว่า Skin effect และยึ่งความถี่กระแสไฟฟ้าสูงขึ้น ตัวนำไฟฟ้าจะมีความต้านทานมากขึ้นที่มา google
โดย: ธนิกกุล [21 ส.ค. 51 11:38] ( IP A:118.173.227.148 X: )

ความคิดเห็นที่ 4 ความต้านทานไฟฟ้ากระแสสลับเมื่อไฟฟ้ากระแสสลับไหลผ่านตัวนำ กระแสไฟฟ้าจะมีมากบริเวณผิวเทียบกับกึ่งกลางตัวนำ เรียกปรากฏการณ์ดังกล่าวว่า Skin effect และยึ่งความถี่กระแสไฟฟ้าสูงขึ้น ตัวนำไฟฟ้าจะมีความต้านทานมากขึ้น
โดย: สามารถ [21 ส.ค. 51 11:45] ( IP A:119.42.66.95 X: )

ความคิดเห็นที่ 5 กระแสไฟฟ้าเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในวงจร ก็จะมีกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำเกิดขึ้นในวงจรโดยแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำจะเป็นปฏิภาคโดยตรงกับค่าลบของอัตราการเปลี่ยนค่ากระแสไฟฟ้านั้น เกิดค่าคงที่ของขดลวดขึ้น L เรียกว่าค่าความเหนี่ยวนำไฟฟ้าของขดลวดตัวนำ (Self inductance of an inductor) ถ้ากระแสไฟฟ้าเพิ่มขึ้นก็จะมีค่าแรงเคลื่อนไฟฟ้าเหนี่ยวนำต่อต้านการเพิ่มหรือมีการนำพลังงานไฟฟ้าไปเก็บไว้ในรูปของพลังงานแม่เหล็กที่เพิ่มขึ้นนั่นเอCopyright © 2007 All right reserved
โดย: มนูญ สารเรือน [21 ส.ค. 51 11:48] ( IP A:118.173.227.148 X: )

ความคิดเห็นที่ 6 ความจุไฟฟ้าในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ ตัวจุหรือเครื่องเก็บประจุไฟฟ้าที่เคยเรียนมาแล้วในเรื่องไฟฟ้าสถิตประกอบไปด้วยแผ่นโลหะมีฉนวนกั้นอยู่ตรงกลาง ดังนั้นเมื่อนำมาใช้ในวงจรไฟฟ้า จึงถือว่าวงจรขาด กระแสไฟฟ้าไม่สามารถเคลื่อนที่ผ่านระหว่างแผ่นของตัวจุได้ อย่างไรก็ตามในความเป็นจริงจะมีกระแสไฟฟ้าชั่วขณะที่เกิดขึ้นทำให้มีประจุไฟฟ้าที่แผ่นบวกและเหนี่ยวนำให้เกิดประจุไฟฟ้าลบที่แผ่นลบ จนประจุเต็มแล้วก็จะหยุดทำหน้าที่เหมือนวงจรเปิดต่อไป ดังรูป รูปที่ 1 การประจุไฟฟ้าของเครื่องเก็บประจุไฟฟ้า เมื่อนำเครื่องเก็บประจุไฟฟ้ามาใช้กับไฟฟ้ากระแสสลับ ก็จะทำให้มีการเหนี่ยวนำไฟฟ้ากลับไปกลับมาผ่านตัวจุนี้ตลอดเวลา ดูคล้ายกับว่ามีกระแสไฟฟ้าเคลื่อนที่ผ่านตัวจุนี้ได้ ดังรูป

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น